ทนทช ๒๐๑ | |
MTCM201 | |
ปรสิตวิทยาทางการแพทย์กับสุขภาพชุมชน | |
MEDICAL PARASITOLOGY WITH COMMUNITY HEALTH | |
ปี 2 | |
7 หน่วย (บรรยาย 1, ปฏิบัติ 6) | |
1 / 2567 | |
97 คน show | |
ผศ. ดร.อภิลักษณ์ วรชาติชีวัน |
เมื่อสิ้นสุดการศึกษารายวิชานี้ นักศึกษาต้องมีความรู้ความเข้าใจ และความสามารถ ดังนี้ ๑. อธิบายความหมายของศัพท์เฉพาะต่าง ๆ ในวิชาปรสิตวิทยาได้ ๒. อธิบายสาระสำคัญเกี่ยวกับปรสิตที่มีความสำคัญทางการแพทย์ ดังต่อไปนี้ - รูปลักษณะที่สำคัญเพื่อการวินิจฉัย - วงจรชีวิต และชีววิทยา - ความสำคัญทางการแพทย์ - หลักการป้องกัน ควบคุม และกำจัด ๓. ปฏิบัติงานตรวจวินิจฉัยปรสิตที่มีความสำคัญทางการแพทย์ ๔. อธิบายความเชื่อมโยงและบูรณาการระหว่างปรสิตวิทยาและศาสตร์อื่นๆเพื่อการป้องกันและควบคุมโรคได้ | |
ปรสิตและสัตว์ขาข้อที่มีความสำคัญทางการแพทย์ รูปร่างลักษณะ วงชีวิต ความสำคัญทางการแพทย์ การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการและการรายงานผล การควบคุมคุณภาพทางห้องปฏิบัติการปรสิตวิทยา การกระจายทางภูมิศาสตร์ หลักการระบาดวิทยาเบื้องต้น ปัจจัยทางสังคมกับโรคทางปรสิต ปฏิบัติการป้องกันและควบคุมโรคทางปรสิตในชุมชน | |
Medically important parasites and arthropods; morphology; life cycle; medical importance; laboratory diagnosis and reporting; quality control in parasitology laboratory; geographic distribution; basic principle of epidemiology; social determinants of parasitic diseases; hands-on practice on prevention and control of parasitic diseases in community |
PLO | Sub PLO |
---|---|
PLO1 มีความรู้และทักษะปฏิบัติในวิชาชีพเทคนิคการแพทย์ได้ตามมาตรฐานและจรรยาบรรณวิชาชีพ |
|
PLO2 ประยุกต์ความรู้ทางการบริหารจัดการห้องปฏิบัติการเทคนิคการแพทย์ |
|
PLO3 จัดการและวิเคราะห์ข้อมูลทางห้องปฏิบัติการและสุขภาพชุมชนโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ |
|
PLO4 สื่อสารข้อมูลทางวิชาชีพเทคนิคการแพทย์แก่บุคลากรทางการแพทย์ ผู้รับบริการทางการแพทย์ผู้ร่ว มงาน และประชาชนได้อย่างเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย |
|
PLO5 ทํางานเป็นทีมกับผู้ร่วมงานรวมถึงสหวิชาชีพตามบทบาทที่เหมาะสม |
|
PLO6 ผลิตผลงานวิชาการทางเทคนิคการแพทย์หรือวิทยาศาสตร์สุขภาพโดยปฏิบัติตามจริยธรรมการวิจัย |
|
ลำดับ | ระยะเวลา | รายละเอียด | เครื่องมือ | การป้อนกลับให้ผู้เรียน |
---|
ลำดับ |
ผลลัพธ์การเรียนรู้และแผนการดำเนินการ
ประกอบด้วย action verb + learning content + criteria/standard |
PLOs | สัดส่วนคะแนน | ||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
CLO1
|
CLO1 องค์ความรู้ด้านปรสิตวิทยาการแพทย์: -อธิบายศัพท์เฉพาะที่สำคัญทางปรสิตได้ถูกต้อง -ระบุลักษณะสำคัญที่ใช้จำแนกชนิดและระยะปรสิตระยะที่มีความสำคัญทางการแพทย์ได้ถูกต้อง -จำแนกหมวดหมู่ปรสิต และสัตว์ขาข้อได้ถูกต้อง -ระบุความสำคัญทางการแพทย์ และการก่อพยาธิสภาพ ของปรสิตและสัตว์ขาข้อได้ถูกต้อง -ระบุช่องทางการติดต่อเข้าสู่ร่างกาย และการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคปรสิตได้ถูกต้อง -อธิบายหลักการในการตรวจวินิจฉัยปรสิตในห้องปฏิบัติการได้ถูกต้อง -ระบุสิ่งส่งตรวจที่เหมาะสมเพื่อการวินิจฉัยปรสิตในห้องปฏิบัติการได้ถูกต้อง
|
0 | 30% | ||||||||||||||||||
CLO2
|
CLO2 การปฏิบัติการวินิจฉัยปรสิตด้วยกล้องจุลทรรศน์: -ให้คำแนะนำในการเก็บตัวอย่างเพื่อการตรวจวินิจฉัยปรสิตได้ถูกต้อง -เตรียมตัวอย่างเพื่อการวินิจฉัยปรสิตด้วยกล้องจุลทรรศน์ได้ถูกต้อง -วินิจฉัยปรสิตจากตัวอย่างอุจจาระและตัวอย่างเลือดด้วยกล้องจุลทรรศน์ได้ถูกต้อง -การรายงานผลการวินิจฉัยปรสิตได้ถูกต้อง
|
0 | 45% | ||||||||||||||||||
CLO3
|
CLO3 การบูรณาการความรู้ทางปรสิตวิทยาเพื่อการป้องกัน และส่งเสริมสุขภาพชุมชน: -ระบุปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลกระทบต่อการติดต่อ หรือการระบาดของโรคปรสิตในระดับบุคคล หรือชุมชนได้ -ให้ความรู้ต่อประเด็นปัญหาโรคปรสิตในชุมชนได้ถูกต้อง -ประเมิน และสรุปปัญหาโรคปรสิตในชุมชม และนำเสนอแนวทางป้องกันและควบคุมโรคได้
|
0 | 5% | ||||||||||||||||||
CLO4
|
CLO4 การทำงานเป็นทีมได้อย่างมีประสิทธิภาพ: -แสดงออกถึงความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย และมุ่งความสำเร็จของทีม
|
0 | 10% | ||||||||||||||||||
CLO5
|
CLO5 คุณธรรมจริยธรรมในวิชาชีพ: -แสดงออกซึ่งคุณธรรม จริยธรรมในวิชาชีพ เคารพสิทธิส่วนบุคคล มีวินัย รับผิดชอบในหน้าที่ มีความซื่อสัตย์สุจริต เคารพกติกาและข้อบังคับขององค์กร
|
0 | 10% | ||||||||||||||||||
100% |
สัญลักษณ์ | คำอธิบาย | เกณฑ์ |
---|---|---|
A | ||
B+ | ||
B | ||
C+ | ||
C | ||
D+ | ||
D | ||
F |
ชื่อ | สังกัด | บทบาท | ชั่วโมง |
---|---|---|---|
ผศ. ดร.อภิลักษณ์ วรชาติชีวัน | ภาควิชาเทคนิคการแพทย์ชุมชน | ผู้รับผิดชอบ | 3 ชม. 0 นาที |
ผศ. ดร.ระพีพร ใหญ่เจริญ | ภาควิชาเทคนิคการแพทย์ชุมชน | ผู้รับผิดชอบ | 3 ชม. 0 นาที |
ผศ. ดร.ลิขิต ปรียานนท์ | ภาควิชาเทคนิคการแพทย์ชุมชน | ผู้สอน | 0 ชม. 0 นาที |
ผศ. ดร.สมชาย บุญเพ็งรักษ์ | ศูนย์วิจัยพัฒนานวัตกรรมและชีวการแพทย์สารสนเทศ | ผู้สอน | 0 ชม. 0 นาที |
ผศ. ดร.สกาวรัตน์ เลิศจุฑาพร | ศูนย์วิจัยพัฒนานวัตกรรมและชีวการแพทย์สารสนเทศ | ผู้สอน | 0 ชม. 0 นาที |
ผศ. ดร.ประสงค์ แคน้ำ | ศูนย์พัฒนามาตรฐานและการประเมินผลิตภัณฑ์ | ผู้สอน | 0 ชม. 0 นาที |
ผศ. ดร.ปวเรศ อ่อนทอง | ภาควิชาเทคนิคการแพทย์ชุมชน | ผู้สอน | 0 ชม. 0 นาที |
ผศ. ดร. พญ.ชลธิดา ยาระณะ | ศูนย์วิจัยพัฒนานวัตกรรมและชีวการแพทย์สารสนเทศ | ผู้สอน | 0 ชม. 0 นาที |
อ. ดร.เลิศยศ ตรีรัตนไพบูลย์ | ภาควิชาเทคนิคการแพทย์ชุมชน | ผู้สอน | 0 ชม. 0 นาที |
อ. ดร.ประสิทธิ์ หมั่นดี | ภาควิชาเทคนิคการแพทย์ชุมชน | ผู้สอน | 3 ชม. 0 นาที |
อ. ดร.ชุลีพร พนัสอัมพร | ภาควิชาเทคนิคการแพทย์ชุมชน | ผู้สอน | 3 ชม. 0 นาที |
อ. ดร.ควีน ไทรเมือง | ศูนย์วิจัยพัฒนานวัตกรรมและชีวการแพทย์สารสนเทศ | ผู้สอน | 0 ชม. 0 นาที |
อ. ดร.ยุวดี บุญญสิทธิ์ | งานพัฒนาคุณภาพและการประเมินผลิตภัณฑ์ | ผู้สอน | 0 ชม. 0 นาที |
วันที่ | เวลา | ห้อง | หัวข้อ | CLOs | ประเภท | ผู้สอน |
---|---|---|---|---|---|---|
05/08/2024 13:00:00 - 05/08/2024 16:00:00 | 3 ชม. 0 นาที |
|
|
|
บรรยาย |
วันที่ | เวลา | หัวข้อ | ประเภท | รูปแบบ | จำนวนชั่วโมง/คน | ผู้รับผิดชอบ |
---|
ลำดับ | รายละเอียด |
---|---|
1 | ๑) มยุรัตน์ เทพมงคล จำรัส จุลละบุษปะ ชูมณี ละม่อม ดวงพร นะคาพันธุ์ชัย วิวรรณ เสนะสุทธิพันธุ์ ปรสิตวิทยาทางการแพทย์. Medical Parasitology. ห้างหุ้นส่วนจำกัด เพิ่มเสริมกิจ; ๒๕๓๒ ๒) ชูมณี ละม่อม รัชฎา เกียรติเฟื่องฟู เทคนิคพื้นฐานทางปรสิตวิทยา พิมพ์ครั้งที่ ๔ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๔๘ ๓) สถาพร ภาสุรเลิศสกุล วารุณี เงินงามเลิศ สมุดภาพปรสิตที่สำคัญ หยินหยางโฟร์คัลเลอร์ กรุงเทพฯ ๒๕๕๔ ๔) ประยงค์ ระดมยศ อัญชลี ตั้งตรงจิตร พลรัตน์ วิไลรัตน์ ศรชัย หลูอารีย์สุวรรณ แทน จงศุภชัยสิทธิ์. Atlas of Medical Parasitology: with 456 color illustrations. 2nd ed. ที พี พริ้นท์ จำกัด กรุงเทพฯ ๒๕๓๘ ๕) มยุรัตน์ เทพมงคล ชูมณี ละม่อม รัชฎา เกียรติเฟื่องฟู ดวงพร นะคาพันธุ์ชัย กีฏวิทยาทางการแพทย์ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๔๐ ๖) World Health Organization (WHO). Manual of Basic Techniques for a health Laboratory. Geneva: WHO; 2003. ๗) เอกสารประกอบการสอน (Handout) ในรูปแบบไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ (pdf, pptx, docx) หรือไฟล์รูปแบบอื่นๆ (video สำหรับ online learning) ๘) คู่มือปฏิบัติการ (Laboratory practice) ๙) คู่มือปฏิบัติการสาธิต (Demonstration) |
ลำดับ | รายละเอียด |
---|---|
1 | ๑) https://www.parasite-diagnosis.ch/virtual-microscope.html ๒) http://parasitology.dmu.ac.uk/learn/microscope.htm ๓) Centers for Disease Control and Prevention (CDC): https://www.cdc.gov/index.htm ๔) World Health Organization (WHO): https://www.who.int/ ๕) กรมควบคุมโรค: http://www.ddc.moph.go.th/index.php ๖) Chiodini PL, Moody AH, Manser DW. Atlas of medical helminthology and protozoology. 4th ed. Churchill Livingstone, London. 2003. ๗) Garcia LS. Diagnostic Medical Parasitology. 4th ed. Washington. D.C.: ASM Press;2003. ๘) Beaver PC Jung RC, Cupp EW, editors. Clinical Parasitology. 9th ed. Philadelphia: Lea&Feciger; 1984. ๙) Grant J. editor. A Guide to Medical Entomology. Hongkong:The Macmillan Press LTD;1980. |
ลำดับ | รายละเอียด |
---|---|
1 | ๑) ตัวอย่างปรสิตและตัวอย่างสัตว์ขาข้อ ๒) วีดิทัศน์-กรณีศึกษา, การเรียนการสอนผ่าน video record, virtual specimen |