รายงานผลการดำเนินงานรายวิชา (มม.5)

ไวรัสวิทยาทางการแพทย์

Clinical & Diagnostic Virology

หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ทนจค319
MTMI319
ไวรัสวิทยาทางการแพทย์
Clinical & Diagnostic Virology
ปี 3
1 หน่วย (บรรยาย 1, ปฏิบัติ 0)
2 / 2566
117 คน show
รศ. ดร.หทัยรัตน์ เลิศสำราญ
หมวดที่ 2 การจัดการเรียนการสอนของรายวิชา
2.1 ผลลัพธ์การเรียนรู้ของรายวิชาและการประเมินผล (Course Learning Outcomes and Assessment)

การประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ (Formative Assessment)

ลำดับ เวลา รายละเอียด เครื่องมือ การป้อนกลับ
1 30/04/2024 16:00:00 - 30/04/2024 18:00:00 ประเมินจากการนำเสนอผลการวิเคราะห์กรณีศึกษาตามโจทย์ที่กำหนดให้แบบกลุ่ม โดยประเมินถึงความถูกต้องทางด้านวิชาการ ความคลอบคลุมของเนื้อหา วิธีการนำเสนอ การใช้สื่อเทคโนโลยีในการสืบค้นข้อมูล การทำงานเป็นทีม การใช้สื่อในการนำเสนอ และความตระหนักถึงบทบาทของวิชาชีพ การนำเสนอโจทย์กรณีศึกษาที่อาจารย์กำหนดให้ และการมีส่วนร่วมในการซักถาม แสดงความคิดเห็น หรือตอบข้อซักถาม ในระหว่างการอภิปรายจากโจทย์กรณีศึกษา คณาจารย์ร่วมกันวิเคราะห์การตอบคำถาม ร่วมอภิปรายและให้ข้อมูลแก่นักศึกษา

การประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียนรู้ (Summative Assessment)

ลำดับ ผลลัพธ์การเรียนรู้และแผนการดำเนินการ

ประกอบด้วย action verb + learning content + criteria/standard

PLOs สัดส่วนคะแนน
CLO1

PLO1

อธิบายความรู้พื้นฐานระดับโมเลกุล คุณสมบัติที่สำคัญ กลไกการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน และกลไกการก่อให้เกิดโรคของเชื้อไวรัสที่มีความสำคัญทางการแพทย์และธนาคารเลือด

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก ปัญหาและข้อเสนอแนะ
บรรยาย

สอบข้อเขียนภาคทฤษฏี

สอบข้อเขียน 25.00% การสอน: ไม่มี
การประเมิน: ไม่มี
1 25%
CLO2

PLO1 PLO2 PLO4

อธิบายหลักการทดสอบวิเคราะห์ และแปลผลทางห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยา โดยประยุกต์ใช้เทคนิคต่างๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบันและเทคโนโลยีใหม่ที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการตรวจวินิจฉัย การรักษา การป้องกัน และการควบคุมโรค

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก ปัญหาและข้อเสนอแนะ
บรรยาย

สอบข้อเขียนภาคทฤษฎี

สอบข้อเขียน 20% การสอน: ไม่มี
การประเมิน: ไม่มี
บรรยาย

สอบข้อเขียนภาคปฏิบัติ

สอบข้อเขียน 10% การสอน: ไม่มี
การประเมิน: ไม่มี
กิจกรรมกลุ่ม

การนำเสนองานกิจกรรมกลุ่ม การร่วมแสดงความคิดเห็น หรือตอบข้อซักถาม ในการอภิปรายโจทย์กรณีศึกษาที่อาจารย์ผู้สอนนำมาใช้ประกอบการเรียนการสอน

ประเมินจากชิ้นงาน/กิจกรรม 7.50% การสอน: ไม่มี
การประเมิน: ไม่มี
3 37.5%
CLO3

PLO1 PLO2 PLO4

สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ทำการทดสอบและแปลผลการทดสอบเพื่อการวินิจฉัยโรคติดเชื้อไวรัสได้ถูกต้อง

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก ปัญหาและข้อเสนอแนะ
บรรยาย

สอบข้อเขียนภาคทฤษฎี

สอบข้อเขียน 10% การสอน: ไม่มี
การประเมิน: ไม่มี
บรรยาย

สอบข้อเขียนภาคปฏิบัติ

สอบข้อเขียน 10% การสอน: ไม่มี
การประเมิน: ไม่มี
อภิปราย

การมีส่วนร่วมในการซักถาม แสดงความคิดเห็น หรือตอบข้อซักถาม ในระหว่างการอภิปรายจากโจทย์กรณีศึกษา หรือกิจกรรมสาธิตที่อาจารย์ผู้สอนนำมาใช้ประกอบการเรียนการสอน

สังเกตการณ์ 7.50% การสอน: ไม่มี
การประเมิน: ไม่มี
3 27.5%
CLO4

PLO2 PLO4

อธิบายการเกิดโรคติดเชื้ออุบัติใหม่/อุบัติซ้ำ และเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลได้อย่างเหมาะสม ตามหลักความปลอดภัยทางชีวภาพ

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก ปัญหาและข้อเสนอแนะ
บรรยาย

สอบข้อเขียนภาคทฤษฎี

สอบข้อเขียน 5.00% การสอน: ไม่มี
การประเมิน: ไม่มี
2 5%
CLO5

PLO8

มีคุณธรรม จริยธรรม และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพเทคนิคการแพทย์

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก ปัญหาและข้อเสนอแนะ
กิจกรรมกลุ่ม

ความรับผิดชอบ การเข้าเรียน การมีส่วนร่วมในการเรียน การตอบคำถามหรืออภิปรายที่แสดงออกถึงการมีคุณธรรม จริยธรรม และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพเทคนิคการแพทย์

สังเกตการณ์ 5.00% การสอน: ไม่มี
การประเมิน: ไม่มี
1 5.0%
100.0%
การให้เกรด
สัญลักษณ์ คำอธิบาย เกณฑ์
A >=80
B+ 75-79
B 70-74
C+ 65-69
C 60-64, การเข้าเรียนไม่น้อยกว่า 80%
D+ 55-59
D 50-54
F <50
หมวดที่ 3 สรุปผลการจัดการเรียนการสอนของรายวิชา
3.1 จำนวนนักศึกษา
จำนวนนักศึกษา จำนวน
คน ร้อยละ
นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน (ณ กำหนดวันเพิ่ม/ถอนรายวิชา)
นักศึกษาที่ถอนรายวิชา None
นักศึกษาที่คงอยู่เมื่อสิ้นสุดรายวิชา None
นักศึกษาที่สอบซ่อมหรือสอบแก้ตัว 4
นักศึกษาที่ลงทะเบียนซ้ำ (ผู้ที่สอบไม่ผ่าน)
3.2 การกระจายของระดับคะแนนหลังซ่อม
ระบบทำสรุปให้
3.3 ระดับคะแนนเฉลี่ยทั้งชั้นปีจากการตัดสินผล
ระบบทำสรุปให้
3.4 ปัจจัยที่ทำให้ค่าเฉลี่ยรวมของเกรดผิดปกติ
หมวดที่ 4 แผนการสอน
ผู้สอน
ชื่อ สังกัด บทบาท ชั่วโมง ผลประเมินการสอน
ผศ. ดร.สินีวัลยา วิชิต ภาควิชาจุลชีววิทยาและเทคโนโลยีประยุกต์ 8 ชม. 30 นาที
ผศ. ดร.ดลพร ริยะป่า ศูนย์วิจัยพัฒนานวัตกรรมและชีวการแพทย์สารสนเทศ 10 ชม. 0 นาที
ผศ. ดร.วิชญาพร คำพรม ภาควิชาจุลชีววิทยาและเทคโนโลยีประยุกต์ 6 ชม. 30 นาที
ผศ. ดร.กุลธิดา กิติดี ศูนย์วิจัยพัฒนานวัตกรรมและชีวการแพทย์สารสนเทศ 14 ชม. 0 นาที
รศ. ดร.หทัยรัตน์ เลิศสำราญ ศูนย์วิจัยพัฒนานวัตกรรมและชีวการแพทย์สารสนเทศ 14 ชม. 0 นาที
รศ. ดร.ประพิมพรรณ วงศ์จิตรัตน์ ศูนย์วิจัยพัฒนานวัตกรรมและชีวการแพทย์สารสนเทศ 7 ชม. 30 นาที
อ. ดร.นฤทัย อรศิริสกุล ศูนย์วิจัยพัฒนานวัตกรรมและชีวการแพทย์สารสนเทศ 13 ชม. 30 นาที
รศ. ดร.ธนาวุฒิ ตันติมงคลวัฒน์ ศูนย์วิจัยพัฒนานวัตกรรมและชีวการแพทย์สารสนเทศ 6 ชม. 30 นาที
ผศ. ดร.สกาวรัตน์ เลิศจุฑาพร ศูนย์วิจัยพัฒนานวัตกรรมและชีวการแพทย์สารสนเทศ 6 ชม. 30 นาที
ผศ. ดร. พญ.ชลธิดา ยาระณะ ศูนย์วิจัยพัฒนานวัตกรรมและชีวการแพทย์สารสนเทศ 6 ชม. 30 นาที
อ. ดร.ปิยดา ณ นคร ศูนย์วิจัยพัฒนานวัตกรรมและชีวการแพทย์สารสนเทศ 6 ชม. 30 นาที

การเรียนการสอนในห้องเรียน

วันที่ เวลา ห้อง หัวข้อ CLOs ประเภท ผู้สอน (คลิกที่ชื่อเพื่อดูบทบาทหน้าที่) รายงานผล
12/03/2024 09:00:00 - 12/03/2024 10:30:00 1 ชม. 30 นาที 90/90
  • Emerging and re-emerging viral diseases & virus eradication
  • 1) อธิบายความรู้พื้นฐานระดับโมเลกุล คุณสมบัติที่สำคัญ กลไกการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน และกลไกการก่อให้เกิดโรคของเชื้อไวรัสที่มีความสำคัญทางการแพทย์และธนาคารเลือด
  • 2) อธิบายหลักการทดสอบวิเคราะห์ และแปลผลทางห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยา โดยประยุกต์ใช้เทคนิคต่างๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบันและเทคโนโลยีใหม่ที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการตรวจวินิจฉัย การรักษา การป้องกัน และการควบคุมโรค
  • 3) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ทำการทดสอบและแปลผลการทดสอบเพื่อการวินิจฉัยโรคติดเชื้อไวรัสได้ถูกต้อง
  • 4) อธิบายการเกิดโรคติดเชื้ออุบัติใหม่/อุบัติซ้ำ และเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลได้อย่างเหมาะสม ตามหลักความปลอดภัยทางชีวภาพ
บรรยาย
รศ. ดร.หทัยรัตน์ เลิศสำราญ
12/03/2024 10:30:00 - 12/03/2024 12:00:00 1 ชม. 30 นาที 90/90
  • Laboratory biosafety and spill response for emerging viral diseases
  • 4) อธิบายการเกิดโรคติดเชื้ออุบัติใหม่/อุบัติซ้ำ และเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลได้อย่างเหมาะสม ตามหลักความปลอดภัยทางชีวภาพ
  • 5) มีคุณธรรม จริยธรรม และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพเทคนิคการแพทย์
กิจกรรม
ผศ. ดร.สินีวัลยา วิชิต , ผศ. ดร.สกาวรัตน์ เลิศจุฑาพร , ผศ. ดร.ดลพร ริยะป่า , ผศ. ดร.วิชญาพร คำพรม , ผศ. ดร.กุลธิดา กิติดี , รศ. ดร.หทัยรัตน์ เลิศสำราญ , รศ. ดร.ประพิมพรรณ วงศ์จิตรัตน์ , อ. ดร.นฤทัย อรศิริสกุล , รศ. ดร.ธนาวุฒิ ตันติมงคลวัฒน์ , ผศ. ดร. พญ.ชลธิดา ยาระณะ , อ. ดร.ปิยดา ณ นคร
19/03/2024 09:00:00 - 19/03/2024 10:30:00 1 ชม. 30 นาที 90/90
  • Viral respiratory diseases I: Respiratory viruses
  • 1) อธิบายความรู้พื้นฐานระดับโมเลกุล คุณสมบัติที่สำคัญ กลไกการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน และกลไกการก่อให้เกิดโรคของเชื้อไวรัสที่มีความสำคัญทางการแพทย์และธนาคารเลือด
  • 2) อธิบายหลักการทดสอบวิเคราะห์ และแปลผลทางห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยา โดยประยุกต์ใช้เทคนิคต่างๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบันและเทคโนโลยีใหม่ที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการตรวจวินิจฉัย การรักษา การป้องกัน และการควบคุมโรค
  • 3) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ทำการทดสอบและแปลผลการทดสอบเพื่อการวินิจฉัยโรคติดเชื้อไวรัสได้ถูกต้อง
บรรยาย
รศ. ดร.หทัยรัตน์ เลิศสำราญ
19/03/2024 10:30:00 - 19/03/2024 12:00:00 1 ชม. 30 นาที 90/90
  • Laboratory diagnosis and interpretation of respiratory virus infection
  • 2) อธิบายหลักการทดสอบวิเคราะห์ และแปลผลทางห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยา โดยประยุกต์ใช้เทคนิคต่างๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบันและเทคโนโลยีใหม่ที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการตรวจวินิจฉัย การรักษา การป้องกัน และการควบคุมโรค
  • 3) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ทำการทดสอบและแปลผลการทดสอบเพื่อการวินิจฉัยโรคติดเชื้อไวรัสได้ถูกต้อง
  • 5) มีคุณธรรม จริยธรรม และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพเทคนิคการแพทย์
ปฏิบัติการ
ผศ. ดร.สินีวัลยา วิชิต , ผศ. ดร.สกาวรัตน์ เลิศจุฑาพร , ผศ. ดร.ดลพร ริยะป่า , ผศ. ดร.วิชญาพร คำพรม , ผศ. ดร.กุลธิดา กิติดี , รศ. ดร.หทัยรัตน์ เลิศสำราญ , รศ. ดร.ประพิมพรรณ วงศ์จิตรัตน์ , อ. ดร.นฤทัย อรศิริสกุล , รศ. ดร.ธนาวุฒิ ตันติมงคลวัฒน์ , ผศ. ดร. พญ.ชลธิดา ยาระณะ , อ. ดร.ปิยดา ณ นคร
02/04/2024 09:00:00 - 02/04/2024 11:00:00 2 ชม. 0 นาที 120/120
  • Viral exanthematous fever I: Vesicular rash (HSV, VZV, HFMD, smallpox)
  • 1) อธิบายความรู้พื้นฐานระดับโมเลกุล คุณสมบัติที่สำคัญ กลไกการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน และกลไกการก่อให้เกิดโรคของเชื้อไวรัสที่มีความสำคัญทางการแพทย์และธนาคารเลือด
  • 2) อธิบายหลักการทดสอบวิเคราะห์ และแปลผลทางห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยา โดยประยุกต์ใช้เทคนิคต่างๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบันและเทคโนโลยีใหม่ที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการตรวจวินิจฉัย การรักษา การป้องกัน และการควบคุมโรค
  • 3) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ทำการทดสอบและแปลผลการทดสอบเพื่อการวินิจฉัยโรคติดเชื้อไวรัสได้ถูกต้อง
บรรยาย
ผศ. ดร.สินีวัลยา วิชิต
02/04/2024 11:00:00 - 02/04/2024 12:00:00 1 ชม. 0 นาที 60/60
  • Viral exanthematous fever II: Macular rash (ZIKV, CHIKV, rubella, and measles)
  • 1) อธิบายความรู้พื้นฐานระดับโมเลกุล คุณสมบัติที่สำคัญ กลไกการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน และกลไกการก่อให้เกิดโรคของเชื้อไวรัสที่มีความสำคัญทางการแพทย์และธนาคารเลือด
  • 2) อธิบายหลักการทดสอบวิเคราะห์ และแปลผลทางห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยา โดยประยุกต์ใช้เทคนิคต่างๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบันและเทคโนโลยีใหม่ที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการตรวจวินิจฉัย การรักษา การป้องกัน และการควบคุมโรค
  • 3) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ทำการทดสอบและแปลผลการทดสอบเพื่อการวินิจฉัยโรคติดเชื้อไวรัสได้ถูกต้อง
บรรยาย
อ. ดร.นฤทัย อรศิริสกุล
09/04/2024 09:00:00 - 09/04/2024 11:00:00 2 ชม. 0 นาที 120/120
  • Examination
สอบ
ผศ. ดร.กุลธิดา กิติดี , รศ. ดร.หทัยรัตน์ เลิศสำราญ , อ. ดร.นฤทัย อรศิริสกุล
09/04/2024 11:00:00 - 09/04/2024 12:00:00 1 ชม. 0 นาที 60/60
  • Sexually transmitted diseases and virus infections in fetus and newborns
  • 1) อธิบายความรู้พื้นฐานระดับโมเลกุล คุณสมบัติที่สำคัญ กลไกการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน และกลไกการก่อให้เกิดโรคของเชื้อไวรัสที่มีความสำคัญทางการแพทย์และธนาคารเลือด
  • 2) อธิบายหลักการทดสอบวิเคราะห์ และแปลผลทางห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยา โดยประยุกต์ใช้เทคนิคต่างๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบันและเทคโนโลยีใหม่ที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการตรวจวินิจฉัย การรักษา การป้องกัน และการควบคุมโรค
  • 3) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ทำการทดสอบและแปลผลการทดสอบเพื่อการวินิจฉัยโรคติดเชื้อไวรัสได้ถูกต้อง
บรรยาย
ผศ. ดร.กุลธิดา กิติดี
23/04/2024 09:00:00 - 23/04/2024 10:30:00 1 ชม. 30 นาที 90/90
  • Dengue virus and other viral hemorrhagic fever
  • 1) อธิบายความรู้พื้นฐานระดับโมเลกุล คุณสมบัติที่สำคัญ กลไกการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน และกลไกการก่อให้เกิดโรคของเชื้อไวรัสที่มีความสำคัญทางการแพทย์และธนาคารเลือด
  • 2) อธิบายหลักการทดสอบวิเคราะห์ และแปลผลทางห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยา โดยประยุกต์ใช้เทคนิคต่างๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบันและเทคโนโลยีใหม่ที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการตรวจวินิจฉัย การรักษา การป้องกัน และการควบคุมโรค
  • 3) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ทำการทดสอบและแปลผลการทดสอบเพื่อการวินิจฉัยโรคติดเชื้อไวรัสได้ถูกต้อง
บรรยาย
อ. ดร.นฤทัย อรศิริสกุล
23/04/2024 10:30:00 - 23/04/2024 12:00:00 1 ชม. 30 นาที 90/90
  • Laboratory diagnosis and interpretation of dengue infection
  • 2) อธิบายหลักการทดสอบวิเคราะห์ และแปลผลทางห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยา โดยประยุกต์ใช้เทคนิคต่างๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบันและเทคโนโลยีใหม่ที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการตรวจวินิจฉัย การรักษา การป้องกัน และการควบคุมโรค
  • 3) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ทำการทดสอบและแปลผลการทดสอบเพื่อการวินิจฉัยโรคติดเชื้อไวรัสได้ถูกต้อง
  • 5) มีคุณธรรม จริยธรรม และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพเทคนิคการแพทย์
ปฏิบัติการ
ผศ. ดร.สินีวัลยา วิชิต , ผศ. ดร.สกาวรัตน์ เลิศจุฑาพร , ผศ. ดร.ดลพร ริยะป่า , ผศ. ดร.วิชญาพร คำพรม , ผศ. ดร.กุลธิดา กิติดี , รศ. ดร.หทัยรัตน์ เลิศสำราญ , รศ. ดร.ประพิมพรรณ วงศ์จิตรัตน์ , อ. ดร.นฤทัย อรศิริสกุล , รศ. ดร.ธนาวุฒิ ตันติมงคลวัฒน์ , ผศ. ดร. พญ.ชลธิดา ยาระณะ , อ. ดร.ปิยดา ณ นคร
30/04/2024 09:00:00 - 30/04/2024 11:00:00 2 ชม. 0 นาที 120/120
  • Case study of exanthematous fever (DenV, Zika, CHIKV)
  • 2) อธิบายหลักการทดสอบวิเคราะห์ และแปลผลทางห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยา โดยประยุกต์ใช้เทคนิคต่างๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบันและเทคโนโลยีใหม่ที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการตรวจวินิจฉัย การรักษา การป้องกัน และการควบคุมโรค
  • 3) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ทำการทดสอบและแปลผลการทดสอบเพื่อการวินิจฉัยโรคติดเชื้อไวรัสได้ถูกต้อง
  • 5) มีคุณธรรม จริยธรรม และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพเทคนิคการแพทย์
กิจกรรม
ผศ. ดร.สินีวัลยา วิชิต , ผศ. ดร.สกาวรัตน์ เลิศจุฑาพร , ผศ. ดร.ดลพร ริยะป่า , ผศ. ดร.วิชญาพร คำพรม , ผศ. ดร.กุลธิดา กิติดี , รศ. ดร.หทัยรัตน์ เลิศสำราญ , รศ. ดร.ประพิมพรรณ วงศ์จิตรัตน์ , อ. ดร.นฤทัย อรศิริสกุล , รศ. ดร.ธนาวุฒิ ตันติมงคลวัฒน์ , ผศ. ดร. พญ.ชลธิดา ยาระณะ , อ. ดร.ปิยดา ณ นคร
30/04/2024 11:00:00 - 30/04/2024 12:00:00 1 ชม. 0 นาที 60/60
  • Sexually transmitted diseases: Human Papillomavirus
  • 1) อธิบายความรู้พื้นฐานระดับโมเลกุล คุณสมบัติที่สำคัญ กลไกการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน และกลไกการก่อให้เกิดโรคของเชื้อไวรัสที่มีความสำคัญทางการแพทย์และธนาคารเลือด
  • 2) อธิบายหลักการทดสอบวิเคราะห์ และแปลผลทางห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยา โดยประยุกต์ใช้เทคนิคต่างๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบันและเทคโนโลยีใหม่ที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการตรวจวินิจฉัย การรักษา การป้องกัน และการควบคุมโรค
  • 3) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ทำการทดสอบและแปลผลการทดสอบเพื่อการวินิจฉัยโรคติดเชื้อไวรัสได้ถูกต้อง
บรรยาย
ผศ. ดร.กุลธิดา กิติดี
07/05/2024 09:00:00 - 07/05/2024 10:00:00 1 ชม. 0 นาที 60/60
  • Viral infections in CNS
  • 1) อธิบายความรู้พื้นฐานระดับโมเลกุล คุณสมบัติที่สำคัญ กลไกการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน และกลไกการก่อให้เกิดโรคของเชื้อไวรัสที่มีความสำคัญทางการแพทย์และธนาคารเลือด
  • 2) อธิบายหลักการทดสอบวิเคราะห์ และแปลผลทางห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยา โดยประยุกต์ใช้เทคนิคต่างๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบันและเทคโนโลยีใหม่ที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการตรวจวินิจฉัย การรักษา การป้องกัน และการควบคุมโรค
  • 3) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ทำการทดสอบและแปลผลการทดสอบเพื่อการวินิจฉัยโรคติดเชื้อไวรัสได้ถูกต้อง
บรรยาย
รศ. ดร.ประพิมพรรณ วงศ์จิตรัตน์
07/05/2024 10:00:00 - 07/05/2024 11:00:00 1 ชม. 0 นาที 60/60
  • Antiviral agents
  • 1) อธิบายความรู้พื้นฐานระดับโมเลกุล คุณสมบัติที่สำคัญ กลไกการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน และกลไกการก่อให้เกิดโรคของเชื้อไวรัสที่มีความสำคัญทางการแพทย์และธนาคารเลือด
  • 2) อธิบายหลักการทดสอบวิเคราะห์ และแปลผลทางห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยา โดยประยุกต์ใช้เทคนิคต่างๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบันและเทคโนโลยีใหม่ที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการตรวจวินิจฉัย การรักษา การป้องกัน และการควบคุมโรค
  • 3) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ทำการทดสอบและแปลผลการทดสอบเพื่อการวินิจฉัยโรคติดเชื้อไวรัสได้ถูกต้อง
บรรยาย
ผศ. ดร.กุลธิดา กิติดี
07/05/2024 11:00:00 - 07/05/2024 12:00:00 1 ชม. 0 นาที 60/60
  • Viral vaccines
  • 1) อธิบายความรู้พื้นฐานระดับโมเลกุล คุณสมบัติที่สำคัญ กลไกการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน และกลไกการก่อให้เกิดโรคของเชื้อไวรัสที่มีความสำคัญทางการแพทย์และธนาคารเลือด
  • 2) อธิบายหลักการทดสอบวิเคราะห์ และแปลผลทางห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยา โดยประยุกต์ใช้เทคนิคต่างๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบันและเทคโนโลยีใหม่ที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการตรวจวินิจฉัย การรักษา การป้องกัน และการควบคุมโรค
  • 3) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ทำการทดสอบและแปลผลการทดสอบเพื่อการวินิจฉัยโรคติดเชื้อไวรัสได้ถูกต้อง
บรรยาย
ผศ. ดร.ดลพร ริยะป่า
14/05/2024 09:00:00 - 14/05/2024 11:30:00 2 ชม. 30 นาที 150/150
  • Examination
สอบ
ผศ. ดร.ดลพร ริยะป่า , ผศ. ดร.กุลธิดา กิติดี , รศ. ดร.หทัยรัตน์ เลิศสำราญ , อ. ดร.นฤทัย อรศิริสกุล
จำนวนเวลาที่สอนในแผน (นาที) จำนวนเวลาที่สอนจริง (นาที) ร้อยละของเวลา จำนวนหัวข้อในแผน จำนวนหัวข้อที่สอนจริง ร้อยละของหัวข้อที่สอนจริง
1410 1410 100.0 16 16 100.0

การเรียนการสอนนอกห้องเรียน

วันที่ เวลา หัวข้อ ประเภท รูปแบบ จำนวนชั่วโมง/คน ผู้รับผิดชอบ

หมวด 5 การประเมินรายวิชา

5.1 การประเมินการจัดการเรียนรู้ของนักศึกษา
25xx 25xx 25xx
นักศึกษาที่ลงทะเบียนทั้งหมด
จำนวนนักศึกษาที่ตอบบแบบประเมิน
หมวด 5 แผนการปรับปรุงและพัฒนาการเรียนการสอนของรายวิชา
แผนการดำเนินการ
ปรับเนื้อหาการเรียนการสอนให้มีความกระชับมากขึ้นโดยเน้นประเด็นและเชื้อไวรัสที่มีความสำคัญ ในเชื้อก่อโรคบางชนิดที่มีความเกี่ยวข้องเชื่อมโยงกับหลายหัวข้ออาจต้องปรับให้กระชับมากขึ้นเพื่อลดความซ้ำซ้อนของเนื้อหา โดยพิจารณาตามข้อกำหนดตามมาตรฐานวิชาชีพเทคนิคการแพทย์
รายวิชา ทนจค 319 ไวรัสวิทยาทางการแพทย์ (1 หน่วยกิต) เป็นการสอนต่อเนื่องจากเนื้อหาในส่วนของ Blood transmitted diseases (1 หน่วยกิต) ซึ่งอยู่ในรายวิชา ทนคร 319 ภูมิคุ้มกันโลหิตวิทยา สำหรับวิทยาศาสตร์การบริการโลหิต การจัดลำดับเนื้อหาที่ใช้สอนจึงต้องพิจารณาถึงคำอธิบายรายวิชา และวัตถุประสงค์ของแต่ละรายวิชา จึงทำให้เกิดความยากลำบากในการจัดเรียงลำดับของเนื้อหาที่ใช้สอน รวมถึงการสรุปผลการประเมินการจัดการเรียนการสอนก็ทำได้ยากและอาจไม่ชัดเจน ทำให้นักศึกษาเกิดความสับสน หากมีการแยกรายวิชา ตามรายละเอียดของเนื้อหาอย่างชัดเจน จะทำให้การบริหารจัดการ และการวางแผนการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากขึ้น ซึ่งทางหลักสูตรได้มีการปรับเปลี่ยนและแยกรายวิชาไวรัสวิทยาออกจากรายวิชา ทนคร 319 ภูมิคุ้มกันโลหิตวิทยา สำหรับวิทยาศาสตร์การบริการโลหิตแล้ว โดยจัดให้เป็นรายวิชา ทนจค 323 ไวรัสวิทยาคลินิกและการตรวจวินิจฉัย จำนวน 2 หน่วยกิต ซึ่งจะใช้เริ่มสอนนักศึกษาชั้นปีที่ 3 ในภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2567 เป็นต้นไป ซึ่งจะทำให้การบริหารจัดการทำได้สะดวกมากขึ้น