ประมวลผลรายวิชา มม.3

หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ทนคร ๔๐๖
MTID406
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการกับคลินิกสัมพันธ์
Laboratory Results and Clinical Correlation
ปี 4
1 หน่วย (บรรยาย 1, ปฏิบัติ 0)
2 / 2566
98 คน show
ผศ. ดร.ณภัทร สองทวี
หมวดที่ 2 เป้าหมายและคำอธิบายรายวิชา
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และสามารถอธิบายความสำคัญของการวิเคราะห์ผลการทดสอบทางห้องปฏิบัติการเวชศาสตร์ชันสูตร และแปลผลการทดสอบและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการทดสอบ และการพิจารณานำผลการทดสอบนั้นสนับสนุนการวินิจฉัย
ศึกษาถึงความสำคัญของการวิเคราะห์ผลการทดสอบทางห้องปฏิบัติการเวชศาสตร์ชันสูตร โดยการวิเคราะห์และแปลผลความสัมพันธ์ระหว่างการทดสอบทั้งหมด และการพิจารณานำผลการทดสอบนั้นสนับสนุนการวินิจฉัย วิธีการเรียนเน้นศึกษากรณีตัวอย่างแล้วอภิปราย
A knowledge on the importance of analyzing, interpreting, correlating the laboratory results, an application of clinical parameters and testing results for diagnosis and health status, a discussion and conclusion on case studies.
หมวดที่ 3 แผนการดำเนินการและการประเมินผลที่สอดคล้องกับผลลัพธ์การเรียนรู้
วัตถุประสงค์รายวิชา
CLO1 อธิบายความสัมพันธ์ของผลการวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการกับลักษณะอาการทางคลินิกของผู้ป่วยและการวินิจฉัยเบื้องต้นของแพทย์ CLO2 ให้คำแนะนำการทดสอบทางห้องปฏิบัติการคลินิกได้อย่างเหมาะสม CLO3 อธิบายวิธีการแก้ไขปัญหาการวิเคราะห์ต่าง ๆ รวมทั้งแนวทางการปรับการวิเคราะห์ให้มีคุณภาพและมาตรฐานที่เชื่อถือได้ CLO4 แสดงออกซึ่งคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ
ความสอดคล้องกับรายวิชาและหลักสูตร
PLO Sub PLO
PLO1 ปฏิบัติงานทางวิชาชีพได้ไม่ต่ํากว่ามาตรฐานวิชาชีพเทคนิคการแพทย์ CLO1 CLO3
PLO2 เลือกและใช้เทคโนโลยีเพื่อการปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการ และการดูแลสุขภาพได้อย่าง เหมาะสม CLO3
PLO3 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการจัดการข้อมูลทางห้องปฏิบัติการและสามารถวิเคราะห์ ข้อมลสู ุขภาพได้
PLO4 ให้คําแนะนําเกี่ยวกับการตรวจ ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องกับภาวะสุขภาพ ได้อย่างเหมาะสมแก่บุคลากรทางการแพทย์ผู้ป่วย และประชาชน CLO2
PLO5 บริหารจัดการห้องปฏิบัติการทางเทคนิคการแพทย์ได้อย่างเหมาะสม
PLO6 ทํางานเป็นทีมกับสหวิชาชีพ ทีมสขภาพ ุ โดยเชื่อมโยงบริบทของวิชาชีพเทคนิคการแพทย์ส ู่ การดูแล และสร้างเสริมสุขภาพ
PLO7 ทําวิจัยเบื้องต้นเพื่อแก้ปัญหา พัฒนา และ/หรือสร้างสรรค์สิ่งใหม ่
PLO8 แสดงออกซึ่งคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ CLO4
PLO10 แสดงออกถึงแนวคิดการเป็นผู้ประกอบการเทคนิคการแพทย
ผลลัพธ์การเรียนรู้ของรายวิชาและการประเมินผล (Course Learning Outcomes and Assessment)

การประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ (Formative Assessment)

ลำดับ ระยะเวลา รายละเอียด เครื่องมือ การป้อนกลับให้ผู้เรียน
1 None - None อาจารย์ประจำรายวิชาที่เข้าร่วมอภิปรายในแต่ละชั้นเรียนเฝ้าสังเกตการณ์การแสดงออกเชิงพฤติกรรมของนักศึกษา ในประเด็นที่เกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ None None

การประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียนรู้ (Summative Assessment)

ลำดับ ผลลัพธ์การเรียนรู้และแผนการดำเนินการ

ประกอบด้วย action verb + learning content + criteria/standard

PLOs สัดส่วนคะแนน
CLO1

PLO1

อธิบายความสัมพันธ์ของผลการวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการกับลักษณะอาการทางคลินิกของผู้ป่วยและการวินิจฉัยเบื้องต้นของแพทย์

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
บรรยาย

กิจกรรมเป็นลักษณะของการนำเสนอโดยนักศึกษา และอาจารย์ประจำรายวิชาร่วมอภิปรายและซักถาม

สอบข้อเขียน 35%
อภิปราย

กิจกรรมเป็นลักษณะของการนำเสนอโดยนักศึกษา และอาจารย์ประจำรายวิชาร่วมอภิปรายและซักถาม

สังเกตการณ์ 30%
1 65%
CLO2

PLO4

ให้คำแนะนำการทดสอบทางห้องปฏิบัติการคลินิกได้อย่างเหมาะสม

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
บรรยาย

กิจกรรมเป็นลักษณะของการนำเสนอโดยนักศึกษา และอาจารย์ประจำรายวิชาร่วมอภิปรายและซักถาม

สอบข้อเขียน 10%
อภิปราย

กิจกรรมเป็นลักษณะของการนำเสนอโดยนักศึกษา และอาจารย์ประจำรายวิชาร่วมอภิปรายและซักถาม

None 15.00%
1 25%
CLO3

PLO1 PLO2

อธิบายวิธีการแก้ไขปัญหาการวิเคราะห์ต่างๆรวมทั้งแนวทางการปรับการวิเคราะห์ให้มีคุณภาพและมาตรฐานที่เชื่อถือได้เสมอ

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
บรรยาย

กิจกรรมเป็นลักษณะของการนำเสนอโดยนักศึกษา และอาจารย์ประจำรายวิชาร่วมอภิปรายและซักถาม

สอบข้อเขียน 5%
อภิปราย

กิจกรรมเป็นลักษณะของการนำเสนอโดยนักศึกษา และอาจารย์ประจำรายวิชาร่วมอภิปรายและซักถาม

สังเกตการณ์ 5.00%
2 10%
CLO4

PLO8

แสดงออกซึ่งคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
อภิปราย

อาจารย์ประจำรายวิชาที่เข้าร่วมอภิปรายในแต่ละชั้นเรียนเฝ้าสังเกตการณ์การแสดงออกเชิงพฤติกรรมของนักศึกษา

สังเกตการณ์ 0.0%
1 0%
100%
การให้เกรด
สัญลักษณ์ คำอธิบาย เกณฑ์
A มากกว่าหรือเท่ากับ 80 %
B+ 75 – 79 %
B 70 – 74 %
C+ 65 – 69 %
C 60 – 64 %
D+ 55 – 59 %
D 50 – 54 %
F น้อยกว่า 50 %

การอุทธรณ์ของนักศึกษา

ระหว่างภาคการศึกษาถ้านักศึกษามีข้อสงสัยหรือไม่พึงประสงค์ถึงวิธีการเรียนการสอนและการประเมินนักศึกษาสามารถร้องเรียนผ่านอาจารย์ผู้ประสานงานรายวิชา ทั้งทางวาจา หรือทางอีเมล์ หากนักศึกษามีข้อสงสัยในผลการประเมินสามารถอุทธรณ์หรือร้องเรียนผ่านอาจารย์ผู้ประสานงานรายวิชาผ่านทางอีเมล์ ภายใน 10 วันทำการ หลังได้รับผลประเมิน

การแก้ไขผลการเรียน หรือ การสอบแก้ตัว

นักศึกษาต้องผ่านเกณฑ์การประเมินรวมอย่างน้อย 60 % หรือได้เกรดไม่ต่ำกว่า “C” นักศึกษาที่ไม่ผ่านเกณฑ์จะต้องลงทะเบียนเรียนซ้ำในปีถัดไป
หมวดที่ 4 แผนการสอน
ผู้สอน
ชื่อ สังกัด บทบาท ชั่วโมง
ผศ. ดร.ณภัทร สองทวี ภาควิชาเคมีคลินิก ผู้รับผิดชอบ 8 ชม. 0 นาที
รศ. ดร.พัชนี ชูทอง ภาควิชาจุลชีววิทยาและเทคโนโลยีประยุกต์ ผู้ร่วมรับผิดชอบ 6 ชม. 0 นาที
ผศ. ดร.รุ่งโรจน์ เชิดตระกูลเกียรติ ภาควิชาจุลชีววิทยาและเทคโนโลยีประยุกต์ ผู้ร่วมรับผิดชอบ 5 ชม. 0 นาที
ผศ. ดร.วิชนันท์ แย้มกมล ภาควิชาจุลทรรศนศาสตร์คลินิก ผู้ร่วมรับผิดชอบ 5 ชม. 0 นาที
ผศ. ดร.สุมนา ดาเก็ง ภาควิชาจุลทรรศนศาสตร์คลินิก ผู้ร่วมรับผิดชอบ 5 ชม. 0 นาที
ผศ. ดร.มลธิรา พรมกัณฑ์ ภาควิชาจุลทรรศนศาสตร์คลินิก ผู้ร่วมรับผิดชอบ 0 ชม. 0 นาที
อ. ดร.นฤทัย อรศิริสกุล ศูนย์วิจัยพัฒนานวัตกรรมและชีวการแพทย์สารสนเทศ ผู้รับผิดชอบ 14 ชม. 0 นาที
ผศ. พญ.สุมนา มัสอูดี ภาควิชาจุลทรรศนศาสตร์คลินิก ผู้รับผิดชอบ 9 ชม. 0 นาที
ผศ. ดร. พญ.ชลธิดา ยาระณะ ศูนย์วิจัยพัฒนานวัตกรรมและชีวการแพทย์สารสนเทศ ผู้ร่วมรับผิดชอบ 9 ชม. 0 นาที
อ. ดร.ธารารัตน์ ขาวเขียว ภาควิชาเคมีคลินิก ผู้ร่วมรับผิดชอบ 5 ชม. 0 นาที
ผศ. ดร.ธีระวุฒิ จันทร์มี ภาควิชาเคมีคลินิก ผู้ร่วมรับผิดชอบ 13 ชม. 0 นาที
รศ. ดร.สุรีรัตน์ พรธาดาวิทย์ ภาควิชาเคมีคลินิก ผู้ร่วมรับผิดชอบ 8 ชม. 0 นาที
รศ. ดร.อังกูรา สุโภคเวช ภาควิชาจุลทรรศนศาสตร์คลินิก ผู้สอน 4 ชม. 0 นาที
อ. ดร.วศินี เขียนสอาด ภาควิชาจุลทรรศนศาสตร์คลินิก ผู้สอน 6 ชม. 0 นาที

การเรียนการสอนในห้องเรียน

วันที่ เวลา ห้อง หัวข้อ CLOs ประเภท ผู้สอน
27/11/2023 15:00:00 - 27/11/2023 16:00:00 1 ชม. 0 นาที
  • 201 ศาลายา
  • แนะนำรายวิชาและมอบหมายงาน
บรรยาย
ผศ. ดร.ณภัทร สองทวี อ. ดร.นฤทัย อรศิริสกุล
18/12/2023 09:00:00 - 18/12/2023 10:00:00 1 ชม. 0 นาที
  • 201 ศาลายา
  • Autoimmune Diseases
กิจกรรม
รศ. ดร.พัชนี ชูทอง ผศ. พญ.สุมนา มัสอูดี ผศ. ดร. พญ.ชลธิดา ยาระณะ
18/12/2023 10:00:00 - 18/12/2023 11:00:00 1 ชม. 0 นาที
  • 201 ศาลายา
  • Infectious Diseases & Related Guidelines
กิจกรรม
รศ. ดร.พัชนี ชูทอง ผศ. ดร.รุ่งโรจน์ เชิดตระกูลเกียรติ อ. ดร.นฤทัย อรศิริสกุล ผศ. ดร. พญ.ชลธิดา ยาระณะ ผศ. ดร.ธีระวุฒิ จันทร์มี
18/12/2023 13:00:00 - 18/12/2023 14:00:00 1 ชม. 0 นาที
  • 201 ศาลายา
  • NCD & Related Guidelines
กิจกรรม
ผศ. ดร.ณภัทร สองทวี ผศ. พญ.สุมนา มัสอูดี อ. ดร.ธารารัตน์ ขาวเขียว ผศ. ดร.ธีระวุฒิ จันทร์มี รศ. ดร.สุรีรัตน์ พรธาดาวิทย์
18/12/2023 14:00:00 - 18/12/2023 15:00:00 1 ชม. 0 นาที
  • 201 ศาลายา
  • Precision Medicine & Malignancies
กิจกรรม
ผศ. ดร.วิชนันท์ แย้มกมล ผศ. ดร.สุมนา ดาเก็ง ผศ. พญ.สุมนา มัสอูดี ผศ. ดร. พญ.ชลธิดา ยาระณะ ผศ. ดร.ธีระวุฒิ จันทร์มี รศ. ดร.สุรีรัตน์ พรธาดาวิทย์
20/12/2023 09:00:00 - 20/12/2023 11:00:00 2 ชม. 0 นาที
  • 201 ศาลายา
  • Case Study: CVD with Hepatitis (Section A)
กิจกรรม
อ. ดร.นฤทัย อรศิริสกุล อ. ดร.ธารารัตน์ ขาวเขียว ผศ. ดร.ธีระวุฒิ จันทร์มี รศ. ดร.สุรีรัตน์ พรธาดาวิทย์
20/12/2023 09:00:00 - 20/12/2023 11:00:00 2 ชม. 0 นาที
  • 204 ศาลายา (มีแผงกั้นห้อง 204)
  • 205 ศาลายา (มีแผงกั้นห้อง 205)
  • Nephrito-Nephrotic Syndrome (Section B)
กิจกรรม
ผศ. ดร.ณภัทร สองทวี รศ. ดร.อังกูรา สุโภคเวช อ. ดร.วศินี เขียนสอาด
20/12/2023 13:00:00 - 20/12/2023 15:00:00 2 ชม. 0 นาที
  • 201 ศาลายา
  • Nephrito-Nephrotic Syndrome (Section A)
กิจกรรม
ผศ. ดร.ณภัทร สองทวี รศ. ดร.อังกูรา สุโภคเวช อ. ดร.วศินี เขียนสอาด
20/12/2023 13:00:00 - 20/12/2023 15:00:00 2 ชม. 0 นาที
  • 204 ศาลายา (มีแผงกั้นห้อง 204)
  • 205 ศาลายา (มีแผงกั้นห้อง 205)
  • Case Study: CVD with Hepatitis (Section B)
กิจกรรม
อ. ดร.นฤทัย อรศิริสกุล อ. ดร.ธารารัตน์ ขาวเขียว ผศ. ดร.ธีระวุฒิ จันทร์มี รศ. ดร.สุรีรัตน์ พรธาดาวิทย์
21/12/2023 09:00:00 - 21/12/2023 11:00:00 2 ชม. 0 นาที
  • 201 ศาลายา
  • Case Study: AFI (Section A)
กิจกรรม
รศ. ดร.พัชนี ชูทอง ผศ. ดร.รุ่งโรจน์ เชิดตระกูลเกียรติ ผศ. ดร. พญ.ชลธิดา ยาระณะ ผศ. ดร.ธีระวุฒิ จันทร์มี
21/12/2023 09:00:00 - 21/12/2023 11:00:00 2 ชม. 0 นาที
  • 204 ศาลายา (มีแผงกั้นห้อง 204)
  • 205 ศาลายา (มีแผงกั้นห้อง 205)
  • Case Study: Blood Transfusion with Thalassemia (Section B)
กิจกรรม
ผศ. ดร.วิชนันท์ แย้มกมล ผศ. ดร.สุมนา ดาเก็ง อ. ดร.นฤทัย อรศิริสกุล ผศ. พญ.สุมนา มัสอูดี
21/12/2023 13:00:00 - 21/12/2023 15:00:00 2 ชม. 0 นาที
  • 204 ศาลายา (มีแผงกั้นห้อง 204)
  • 205 ศาลายา (มีแผงกั้นห้อง 205)
  • Case Study: AFI (Section B)
กิจกรรม
รศ. ดร.พัชนี ชูทอง ผศ. ดร.รุ่งโรจน์ เชิดตระกูลเกียรติ ผศ. ดร.ธีระวุฒิ จันทร์มี
21/12/2023 13:00:00 - 21/12/2023 15:00:00 2 ชม. 0 นาที
  • 201 ศาลายา
  • Case Study: Blood Transfusion with Thalassemia (Section A)
กิจกรรม
ผศ. ดร.วิชนันท์ แย้มกมล ผศ. ดร.สุมนา ดาเก็ง อ. ดร.นฤทัย อรศิริสกุล ผศ. พญ.สุมนา มัสอูดี
22/12/2023 09:00:00 - 22/12/2023 11:00:00 2 ชม. 0 นาที
  • 201 ศาลายา
  • Laboratory Pitfalls
กิจกรรม
ผศ. ดร.ณภัทร สองทวี อ. ดร.นฤทัย อรศิริสกุล ผศ. พญ.สุมนา มัสอูดี ผศ. ดร. พญ.ชลธิดา ยาระณะ ผศ. ดร.ธีระวุฒิ จันทร์มี รศ. ดร.สุรีรัตน์ พรธาดาวิทย์
25/12/2023 09:00:00 - 25/12/2023 11:00:00 2 ชม. 0 นาที
  • 304 ศาลายา (มีแผงกั้นห้อง 304)
  • 305 ศาลายา (มีแผงกั้นห้อง 305)
  • 204 ศาลายา (มีแผงกั้นห้อง 204)
  • 205 ศาลายา (มีแผงกั้นห้อง 205)
  • 306 ศาลายา (มีแผงกั้นห้อง 306)
  • 307 ศาลายา (มีแผงกั้นห้อง 307)
  • สอบข้อเขียน
สอบ
อ. ดร.วศินี เขียนสอาด อ. ดร.นฤทัย อรศิริสกุล ผศ. ดร. พญ.ชลธิดา ยาระณะ

การเรียนการสอนนอกห้องเรียน

วันที่ เวลา หัวข้อ ประเภท รูปแบบ จำนวนชั่วโมง/คน ผู้รับผิดชอบ

หมวด 5 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

Required Materials
ลำดับ รายละเอียด
1 Rifai N, et al. Tietz Textbook of Laboratory Medicine. 7th ed: Elsevier Health Sciences; 2023. [ https://shorturl.at/qvxFR ]
2 McPherson RA, Pincus MR. Henry's Clinical Diagnosis and Management by Laboratory Methods. 24th ed: Elsevier Health Sciences; 2021. [ https://shorturl.at/fyABT ]
3 Laposata M. Laposata's Laboratory Medicine Diagnosis of Disease in Clinical Laboratory. 3rd ed: McGraw-Hill Education; 2019. [ https://accessmedicine.mhmedical.com/Book.aspx?bookid=2503 ]
4 มานะ โรจนวุฒนนท์, บรรณาธิการ. พยาธิวิทยาคลินิก Clinical Pathology. พิมพ์ครั้งที่ 2 (ฉบับเรียบเรียงครั้งที่ 2): ภาควิชาพยาธิวิทยา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล; 2556.
5 ชาตรี ชัยอดิศักดิ์โสภา, และคณะ. Handbook of Clinical Interpretation of Diagnostic Tests. พิมพ์ครั้งที่ 1: ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2565.
6 แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับประชาชน ฉบับปรับปรุง ๒๕๖๕. สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข; 2565. [ https://shorturl.at/bejIJ ]
7 ปิยะ ศิริลักษณ์, และคณะ. แนวทางการตรวจทางห้องปฏิบัติการอย่างสมเหตุผล ฉบับปรับปรุง ๒๕๖๖ (Rational Laboratory Use, RLU). สำนักมาตรฐานห้องปฏิบัติการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข; 2566. [ https://shorturl.at/CGNW2 ]
Suggested Materials
ลำดับ รายละเอียด
1 Greer JP, Arber DA, Glader B, List AF, Means RT, Paraskevas F, et al. Wintrobe's Clinical Hematology. 13thed: Wolters Kluwer Health; 2013.
2 Strasinger SK, Di Lorenzo MS. Urinalysis and Body Fluids. 6thed: F. A. Davis Company; 2014.
3 Tille PM. Bailey & Scott's Diagnostic Microbiology. 14thed: Mosby Elsevier; 2013.
4 Southwick F. Infectious Diseases: A Clinical Short Course. 3rded: McGraw-Hill Education; 2013.
5 Loscalzo J, et al. Harrison's Principles of Internal Medicine. 21st ed: McGraw-Hill Education; 2022.
6 Papadakis MA, et al. Current Medical Diagnosis & Treatment. 62nd ed: McGraw-Hill Education; 2023.
7 McGhee, MF, et al. A Guide to Laboratory Investigations. 7th ed: ProQuest Ebook Central, Taylor & Francis Group, 2021.
Other Resources
ลำดับ รายละเอียด
1 https://labtestsonline.org.uk
2 https://www.medicinehack.com
3 https://www.medscape.com