ประมวลผลรายวิชา มม.3

หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
MTID320
MTID320
วิทยาศาสตร์การบริการโลหิต
TRANSFUSION SCIENCE
ปี 4
4 หน่วย (บรรยาย 2, ปฏิบัติ 2)
1 / 2566
96 คน show
ผศ. ดร.ลิขิต ปรียานนท์
หมวดที่ 2 เป้าหมายและคำอธิบายรายวิชา
เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และฝึกทักษะปฏิบัติการในงานวิทยาศาสตร์การบริการโลหิต มีความรู้เกี่ยวกับกระบวนการรับบริจาคโลหิตและส่วนประกอบของโลหิต การเตรียมส่วนประกอบของโลหิตที่ปลอดภัยแก่ผู้ป่วยและการแก้ปัญหาในกรณีต่างๆ ฝึกทักษะการสื่อสาร การถ่ายทอดความรู้สู่สังคม การแปลผลการตรวจวิเคราะห์และการทำงานร่วมกับผู้อื่น มีความรู้ในการบริหารจัดการห้องปฏิบัติการธนาคารเลือด การเลือกใช้เทคโนโลยีในการตรวจวิเคราะห์ รวมทั้งการควบคุมคุณภาพในงานวิทยาศาสตร์การบริการโลหิต และเพื่อให้ผู้เรียนปฏิบัติงานตามหลักจรรยาบรรณวิชาชีพ ตระหนักถึงคุณธรรมจริยธรรม และความรับผิดชอบต่อสังคม
กระบวนการรับบริจาคและการให้คำปรึกษาเบื้องต้น การเตรียมส่วนประกอบของโลหิต ความสำคัญทางคลินิก การเก็บรักษาโลหิตและส่วนประกอบของโลหิต การขนส่ง การทำ apheresis การควบคุมคุณภาพ การทดสอบและปัญหาในการเลือกโลหิตและส่วนประกอบของโลหิตให้ผู้ป่วย การทดสอบเพื่อหาสาเหตุและแก้ไข การวินิจฉัยภาวะที่เกิดจากปฏิกิริยาแอนติเจน-แอนติบอดีของเม็ดเลือด กรณี transfusion reaction, autoimmune hemolytic anemia, hemolytic disease of the newborn และการเลือกโลหิตและส่วนประกอบของโลหิตให้ผู้ป่วย การถ่ายเลือด (blood exchange) การให้เลือดในเด็ก (pedriatic blood transfusion) การตรวจวิเคราะห์แอนติเจน แอนติบอดีของเม็ดเลือดขาวและเกล็ดเลือด การปลูกถ่าย เซลล์ต้นกำเนิด เนื้อเยื่อ และอวัยวะ ความก้าวหน้าและเครื่องมืออัตโนมัติในงานธนาคารเลือด ระบบการจัดการคุณภาพ การควบคุมคุณภาพการทดสอบ และจริยธรรมในงานบริการโลหิต
Understanding blood donation, donor recruitment, blood components preparation apheresis and processing, blood cold chain, storage, and quality control. Compatibility test and investigation of transfusion reaction, autoimmune hemolytic anemia, and hemolytic disease of the newborn. Problem-solving of ABO discrepancies, multiple antibodies, and positive direct anti-globulin test. Compatibility test for exchange transfusion and pediatric transfusion. The detection of leukocyte and platelet antigen-antibody. The preparation of stem cells, tissues, and organs for transplantation. The advances in blood bank automation, information systems, and quality management systems. The ethics in transfusion service.
หมวดที่ 3 แผนการดำเนินการและการประเมินผลที่สอดคล้องกับผลลัพธ์การเรียนรู้
วัตถุประสงค์รายวิชา
เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนแล้ว นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในขบวนการรับบริจาคและเตรียมส่วนประกอบของโลหิต รวมถึงการเก็บรักษาและขนส่งโลหิตและส่วนประกอบของโลหิต ความสำคัญทางคลินิก การควบคุมคุณภาพ รู้หลักการและสามารถทำการทดสอบเพื่อหาสาเหตุและแก้ไขปัญหาในการเลือกโลหิตและส่วนประกอบของโลหิตให้ผู้ป่วย รวมทั้งวินิจฉัยภาวะที่เกิดจากปฏิกิริยาแอนติเจน-แอนติบอดีของเม็ดเลือด และสามารถเลือกโลหิตและส่วนประกอบของโลหิตที่ปลอดภัยให้ผู้ป่วยได้ รู้หลักการการตรวจวิเคราะห์แอนติเจนและแอนติบอดีของเม็ดเลือดขาวและเกล็ดเลือด การปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิด เนื้อเยื่อ และอวัยวะ ความก้าวหน้าและเครื่องมืออัตโนมัติในงานธนาคารเลือด ระบบการจัดการคุณภาพ การควบคุมคุณภาพการทดสอบ และมีจริยธรรมในงานบริการโลหิต
ความสอดคล้องกับรายวิชาและหลักสูตร
PLO Sub PLO
PLO1 ปฏิบัติงานทางวิชาชีพได้ไม่ต่ํากว่ามาตรฐานวิชาชีพเทคนิคการแพทย์ CLO1 CLO2 CLO3 CLO4 CLO5
PLO2 เลือกและใช้เทคโนโลยีเพื่อการปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการ และการดูแลสุขภาพได้อย่าง เหมาะสม CLO2 CLO6
PLO3 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการจัดการข้อมูลทางห้องปฏิบัติการและสามารถวิเคราะห์ ข้อมลสู ุขภาพได้
PLO4 ให้คําแนะนําเกี่ยวกับการตรวจ ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องกับภาวะสุขภาพ ได้อย่างเหมาะสมแก่บุคลากรทางการแพทย์ผู้ป่วย และประชาชน CLO1 CLO7
PLO5 บริหารจัดการห้องปฏิบัติการทางเทคนิคการแพทย์ได้อย่างเหมาะสม CLO5 CLO6
PLO6 ทํางานเป็นทีมกับสหวิชาชีพ ทีมสขภาพ ุ โดยเชื่อมโยงบริบทของวิชาชีพเทคนิคการแพทย์ส ู่ การดูแล และสร้างเสริมสุขภาพ CLO1
PLO7 ทําวิจัยเบื้องต้นเพื่อแก้ปัญหา พัฒนา และ/หรือสร้างสรรค์สิ่งใหม ่
PLO8 แสดงออกซึ่งคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ CLO7
PLO10 แสดงออกถึงแนวคิดการเป็นผู้ประกอบการเทคนิคการแพทย
ผลลัพธ์การเรียนรู้ของรายวิชาและการประเมินผล (Course Learning Outcomes and Assessment)

การประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ (Formative Assessment)

ลำดับ ระยะเวลา รายละเอียด เครื่องมือ การป้อนกลับให้ผู้เรียน

การประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียนรู้ (Summative Assessment)

ลำดับ ผลลัพธ์การเรียนรู้และแผนการดำเนินการ

ประกอบด้วย action verb + learning content + criteria/standard

PLOs สัดส่วนคะแนน
CLO1

PLO1 PLO4 PLO6

อธิบายหลักการคัดเลือกผู้บริจาคโลหิตและแนวทางการให้คำปรึกษาแก่ผู้บริจาคโลหิต วิธีการเจาะเก็บโลหิตผู้บริจาค อุปกรณ์และขบวนการที่เกี่ยวข้อง มาตรฐานการจัดการ การขนส่ง การเก็บรักษา คุณสมบัติมาตรฐานของโลหิตและส่วนประกอบ การควบคุมคุณภาพ การจัดเก็บเลือดที่หายาก (frozen cells)

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
บรรยาย

สอบข้อเขียน 24%
กิจกรรมกลุ่ม

ประเมินจากชิ้นงาน/กิจกรรม 1.00%
3 25%
CLO2

PLO1 PLO2

อธิบายหลักการ วิธีการ การแปลผล การตรวจวิเคราะห์แอนติเจน-แอนติบอดีของเม็ดเลือดขาวและเกล็ดเลือด การเลือกผู้บริจาคที่เข้ากันกับผู้ป่วยในการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิด เนื้อเยื่อ และอวัยวะ

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
บรรยาย

สอบข้อเขียน 10.00%
2 10%
CLO3

PLO1

อธิบายหลักการ วิธีการ การอ่านผล รายงานผล และแปลผลการทดสอบการเลือกโลหิตและส่วนประกอบให้ผู้ป่วย ในงานประจำ รวมทั้งการวิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ไขกรณีมีปัญหาเกี่ยวกับการเลือกเลือดให้ผู้ป่วย เช่น กรณี ABO discrepan-cies, Weak D, incompatible blood, DAT-positive, multiple antibodies

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
บรรยาย

สอบข้อเขียน 13.5%
ปฏิบัติการ

สอบปฏิบัติการ 10%
อภิปราย

สังเกตการณ์ 0.5%
กิจกรรมกลุ่ม

ประเมินจากชิ้นงาน/กิจกรรม 1.00%
1 25%
CLO4

PLO1

อธิบายพยาธิสรีรวิทยาของภาวะที่มีผลจากปฏิกิริยาระหว่างแอนติเจน-แอนติบอดีของเม็ดเลือดแดง เช่น Hemolytic dis-ease of the fetus and newborn (HDFN), Hemolytic Transfusion reaction (HTR), Autoimmune hemolytic anemia (AIHA) รวมทั้งบอกหลักการ วิธีการ และทำการทดสอบเพื่อวินิจฉัยและเลือกเลือด/ส่วนประกอบให้แก่ผู้ป่วยดังกล่าว

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
บรรยาย

สอบข้อเขียน 13%
ปฏิบัติการ

สอบปฏิบัติการ 10%
อภิปราย

สังเกตการณ์ 0.5%
กิจกรรมกลุ่ม

ประเมินจากชิ้นงาน/กิจกรรม 1.50%
1 25%
CLO5

PLO1 PLO5

อธิบายแนวทางการบริหารจัดการธนาคารเลือด/การบริการโลหิต ลำดับการปฏิบัติงาน (workflow) ระบบการจัดการคุณภาพ การควบคุมคุณภาพภายใน และการทดสอบเพื่อควบคุมคุณภาพประจำวันในงานธนาคารเลือด

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
บรรยาย

สอบข้อเขียน 9%
อภิปราย

None 0.5%
กิจกรรมกลุ่ม

ประเมินจากชิ้นงาน/กิจกรรม 0.50%
2 10%
CLO6

PLO2 PLO5

อธิบายแนวการพัฒนางานธนาคารเลือด/การบริการโลหิต การใช้เครื่องอัตโนมัติในการทดสอบ ข้อดีข้อเสีย ตลอดจนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและแนวทางพัฒนาโดยงานวิจัยได้

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
บรรยาย

สอบข้อเขียน 2.5%
อภิปราย

สังเกตการณ์ 0.50%
2 3%
CLO7

PLO4 PLO8

อธิบายหลักการให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการบริจาคโลหิต และตระหนักถึงคุณธรรมธรรมจริยธรรมในวิชาชีพ

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
บรรยาย

สอบข้อเขียน 1%
อภิปราย

สังเกตการณ์ 0.5%
กิจกรรมกลุ่ม

ประเมินจากชิ้นงาน/กิจกรรม 0.50%
2 2%
100%
การให้เกรด
สัญลักษณ์ คำอธิบาย เกณฑ์
A 80-100
B+ 75-79
B 70-74
C+ 65-69
C 60-64
D+ 55-59
D 50-54
F 0-49

การอุทธรณ์ของนักศึกษา

นักศึกษาอุทธรณ์ผ่านผู้รับผิดชอบรายวิชาตามรายละเอียดในประมวลรายวิชา (Course Syllabus) โดยผู้รับผิดชอบรายวิชาพิจารณา ดำเนินการจัดการ และตัดสินใจร่วมกับผู้ร่วมรับผิดชอบรายวิชาตามความเหมาะสม

การแก้ไขผลการเรียน หรือ การสอบแก้ตัว

รายวิชานี้กำหนดให้มีการสอบซ่อมตามเงื่อนไขดังนี้ - ผู้ที่สอบซ่อมภาคทฤษฎี คือผู้ที่ได้คะแนนต่ำกว่ากลุ่มอย่างชัดเจน หรือผู้ที่ได้คะแนนต่ำกว่า ร้อยละ 55 - ผู้ที่สอบซ่อมภาคปฏิบัติ คือผู้ที่ได้คะแนนต่ำกว่ากลุ่มอย่างชัดเจน หรือผู้ที่ได้คะแนนต่ำกว่า ร้อยละ 60 โดยให้สามารถสอบซ่อมได้ 1 ครั้ง ผู้ที่สอบซ่อมผ่านจะได้คะแนนตามเกณฑ์ขั้นต่ำ หากสอบซ่อมไม่ผ่าน จะได้คะแนนที่ดีที่สุด
หมวดที่ 4 แผนการสอน
ผู้สอน
ชื่อ สังกัด บทบาท ชั่วโมง
รศ. ดร.อังกูรา สุโภคเวช ภาควิชาจุลทรรศนศาสตร์คลินิก ผู้รับผิดชอบ 84 ชม. 0 นาที
ผศ. ดร.จิตรดา เพชรฟอง ภาควิชาจุลทรรศนศาสตร์คลินิก ผู้รับผิดชอบ 70 ชม. 0 นาที
อ. ดร.พจนารถ วานิจจะกูล ภาควิชาจุลทรรศนศาสตร์คลินิก ผู้สอน 63 ชม. 0 นาที
อ. ดร.ชุลีพร พนัสอัมพร ภาควิชาเทคนิคการแพทย์ชุมชน ผู้สอน 63 ชม. 0 นาที
ผศ. ดร.ชุติพงศ์ สุขคะนนท์ ภาควิชาจุลทรรศนศาสตร์คลินิก ผู้สอน 70 ชม. 0 นาที
รศ. ดร.ดลินา ตันหยง ภาควิชาจุลทรรศนศาสตร์คลินิก ผู้รับผิดชอบ 63 ชม. 0 นาที
ผศ. ดร.สุมนา ดาเก็ง ภาควิชาจุลทรรศนศาสตร์คลินิก ผู้สอน 49 ชม. 0 นาที
ผศ. ดร.วิชนันท์ แย้มกมล ภาควิชาจุลทรรศนศาสตร์คลินิก ผู้สอน 49 ชม. 0 นาที
อ. ดร.วศินี เขียนสอาด ภาควิชาจุลทรรศนศาสตร์คลินิก ผู้สอน 56 ชม. 0 นาที
รศ. ดร.พรลดา นุชน้อย ศูนย์วิจัยพัฒนานวัตกรรมและชีวการแพทย์สารสนเทศ ผู้สอน 49 ชม. 0 นาที
ผศ. ดร. พญ.ชลธิดา ยาระณะ ศูนย์วิจัยพัฒนานวัตกรรมและชีวการแพทย์สารสนเทศ ผู้สอน 7 ชม. 0 นาที

การเรียนการสอนในห้องเรียน

วันที่ เวลา ห้อง หัวข้อ CLOs ประเภท ผู้สอน
15/08/2023 09:00:00 - 15/08/2023 16:00:00 7 ชม. 0 นาที
  • Donor management, donor care & counselling
  • Blood component preparation & QC
  • Preservation: additive solution, storage lesion
  • Blood donation, processing, donor reaction
  • 1) อธิบายหลักการคัดเลือกผู้บริจาคโลหิตและแนวทางการให้คำปรึกษาแก่ผู้บริจาคโลหิต วิธีการเจาะเก็บโลหิตผู้บริจาค อุปกรณ์และขบวนการที่เกี่ยวข้อง มาตรฐานการจัดการ การขนส่ง การเก็บรักษา คุณสมบัติมาตรฐานของโลหิตและส่วนประกอบ การควบคุมคุณภาพ การจัดเก็บเลือดที่หายาก (frozen cells)
  • 7) อธิบายหลักการให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการบริจาคโลหิต และตระหนักถึงคุณธรรมธรรมจริยธรรมในวิชาชีพ
บรรยาย
รศ. ดร.อังกูรา สุโภคเวช อ. ดร.พจนารถ วานิจจะกูล
22/08/2023 09:00:00 - 22/08/2023 16:00:00 7 ชม. 0 นาที
  • Blood cold chain management
  • 1) อธิบายหลักการคัดเลือกผู้บริจาคโลหิตและแนวทางการให้คำปรึกษาแก่ผู้บริจาคโลหิต วิธีการเจาะเก็บโลหิตผู้บริจาค อุปกรณ์และขบวนการที่เกี่ยวข้อง มาตรฐานการจัดการ การขนส่ง การเก็บรักษา คุณสมบัติมาตรฐานของโลหิตและส่วนประกอบ การควบคุมคุณภาพ การจัดเก็บเลือดที่หายาก (frozen cells)
บรรยาย
29/08/2023 09:00:00 - 29/08/2023 16:00:00 7 ชม. 0 นาที
  • Blood collection and processing
  • 1) อธิบายหลักการคัดเลือกผู้บริจาคโลหิตและแนวทางการให้คำปรึกษาแก่ผู้บริจาคโลหิต วิธีการเจาะเก็บโลหิตผู้บริจาค อุปกรณ์และขบวนการที่เกี่ยวข้อง มาตรฐานการจัดการ การขนส่ง การเก็บรักษา คุณสมบัติมาตรฐานของโลหิตและส่วนประกอบ การควบคุมคุณภาพ การจัดเก็บเลือดที่หายาก (frozen cells)
  • 6) อธิบายแนวการพัฒนางานธนาคารเลือด/การบริการโลหิต การใช้เครื่องอัตโนมัติในการทดสอบ ข้อดีข้อเสีย ตลอดจนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและแนวทางพัฒนาโดยงานวิจัยได้
ปฏิบัติการ
รศ. ดร.อังกูรา สุโภคเวช ผศ. ดร.จิตรดา เพชรฟอง อ. ดร.ชุลีพร พนัสอัมพร ผศ. ดร.ชุติพงศ์ สุขคะนนท์
05/09/2023 09:00:00 - 05/09/2023 16:00:00 7 ชม. 0 นาที
  • MHC and transplantation
  • Donor self-screening
  • 1) อธิบายหลักการคัดเลือกผู้บริจาคโลหิตและแนวทางการให้คำปรึกษาแก่ผู้บริจาคโลหิต วิธีการเจาะเก็บโลหิตผู้บริจาค อุปกรณ์และขบวนการที่เกี่ยวข้อง มาตรฐานการจัดการ การขนส่ง การเก็บรักษา คุณสมบัติมาตรฐานของโลหิตและส่วนประกอบ การควบคุมคุณภาพ การจัดเก็บเลือดที่หายาก (frozen cells)
  • 2) อธิบายหลักการ วิธีการ การแปลผล การตรวจวิเคราะห์แอนติเจน-แอนติบอดีของเม็ดเลือดขาวและเกล็ดเลือด การเลือกผู้บริจาคที่เข้ากันกับผู้ป่วยในการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิด เนื้อเยื่อ และอวัยวะ
บรรยาย
12/09/2023 09:00:00 - 12/09/2023 16:00:00 7 ชม. 0 นาที
  • Hematopoietic stem cell transplantation
  • Platelet antigen & antibody
  • Blood group genotyping
  • 2) อธิบายหลักการ วิธีการ การแปลผล การตรวจวิเคราะห์แอนติเจน-แอนติบอดีของเม็ดเลือดขาวและเกล็ดเลือด การเลือกผู้บริจาคที่เข้ากันกับผู้ป่วยในการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิด เนื้อเยื่อ และอวัยวะ
บรรยาย
รศ. ดร.อังกูรา สุโภคเวช
19/09/2023 09:00:00 - 19/09/2023 16:00:00 7 ชม. 0 นาที
  • Hemapheresis
  • การประเมิน vital sign
  • 1) อธิบายหลักการคัดเลือกผู้บริจาคโลหิตและแนวทางการให้คำปรึกษาแก่ผู้บริจาคโลหิต วิธีการเจาะเก็บโลหิตผู้บริจาค อุปกรณ์และขบวนการที่เกี่ยวข้อง มาตรฐานการจัดการ การขนส่ง การเก็บรักษา คุณสมบัติมาตรฐานของโลหิตและส่วนประกอบ การควบคุมคุณภาพ การจัดเก็บเลือดที่หายาก (frozen cells)
บรรยาย
รศ. ดร.อังกูรา สุโภคเวช รศ. ดร.ดลินา ตันหยง อ. ดร.วศินี เขียนสอาด ผศ. ดร.จิตรดา เพชรฟอง ผศ. ดร. พญ.ชลธิดา ยาระณะ ผศ. ดร.ชุติพงศ์ สุขคะนนท์
27/09/2023 09:00:00 - 27/09/2023 16:00:00 7 ชม. 0 นาที
  • Blood donation mobile unit
  • 1) อธิบายหลักการคัดเลือกผู้บริจาคโลหิตและแนวทางการให้คำปรึกษาแก่ผู้บริจาคโลหิต วิธีการเจาะเก็บโลหิตผู้บริจาค อุปกรณ์และขบวนการที่เกี่ยวข้อง มาตรฐานการจัดการ การขนส่ง การเก็บรักษา คุณสมบัติมาตรฐานของโลหิตและส่วนประกอบ การควบคุมคุณภาพ การจัดเก็บเลือดที่หายาก (frozen cells)
  • 7) อธิบายหลักการให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการบริจาคโลหิต และตระหนักถึงคุณธรรมธรรมจริยธรรมในวิชาชีพ
กิจกรรม
รศ. ดร.อังกูรา สุโภคเวช รศ. ดร.ดลินา ตันหยง ผศ. ดร.จิตรดา เพชรฟอง อ. ดร.พจนารถ วานิจจะกูล อ. ดร.ชุลีพร พนัสอัมพร ผศ. ดร.ชุติพงศ์ สุขคะนนท์
03/10/2023 13:00:00 - 03/10/2023 15:00:00 2 ชม. 0 นาที
  • workflow in blood transfusion service
  • 5) อธิบายแนวทางการบริหารจัดการธนาคารเลือด/การบริการโลหิต ลำดับการปฏิบัติงาน (workflow) ระบบการจัดการคุณภาพ การควบคุมคุณภาพภายใน และการทดสอบเพื่อควบคุมคุณภาพประจำวันในงานธนาคารเลือด
บรรยาย
17/10/2023 09:00:00 - 17/10/2023 16:00:00 7 ชม. 0 นาที
  • ABO discrepancies
  • 3) อธิบายหลักการ วิธีการ การอ่านผล รายงานผล และแปลผลการทดสอบการเลือกโลหิตและส่วนประกอบให้ผู้ป่วย ในงานประจำ รวมทั้งการวิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ไขกรณีมีปัญหาเกี่ยวกับการเลือกเลือดให้ผู้ป่วย เช่น กรณี ABO discrepan-cies, Weak D, incompatible blood, DAT-positive, multiple antibodies
ปฏิบัติการ
รศ. ดร.อังกูรา สุโภคเวช รศ. ดร.ดลินา ตันหยง ผศ. ดร.วิชนันท์ แย้มกมล ผศ. ดร.สุมนา ดาเก็ง อ. ดร.วศินี เขียนสอาด รศ. ดร.พรลดา นุชน้อย ผศ. ดร.จิตรดา เพชรฟอง อ. ดร.พจนารถ วานิจจะกูล อ. ดร.ชุลีพร พนัสอัมพร ผศ. ดร.ชุติพงศ์ สุขคะนนท์
24/10/2023 09:00:00 - 24/10/2023 16:00:00 7 ชม. 0 นาที
  • Compatibility test and problem solving
  • 3) อธิบายหลักการ วิธีการ การอ่านผล รายงานผล และแปลผลการทดสอบการเลือกโลหิตและส่วนประกอบให้ผู้ป่วย ในงานประจำ รวมทั้งการวิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ไขกรณีมีปัญหาเกี่ยวกับการเลือกเลือดให้ผู้ป่วย เช่น กรณี ABO discrepan-cies, Weak D, incompatible blood, DAT-positive, multiple antibodies
ปฏิบัติการ
รศ. ดร.อังกูรา สุโภคเวช รศ. ดร.ดลินา ตันหยง ผศ. ดร.วิชนันท์ แย้มกมล ผศ. ดร.สุมนา ดาเก็ง อ. ดร.วศินี เขียนสอาด รศ. ดร.พรลดา นุชน้อย ผศ. ดร.จิตรดา เพชรฟอง อ. ดร.พจนารถ วานิจจะกูล อ. ดร.ชุลีพร พนัสอัมพร ผศ. ดร.ชุติพงศ์ สุขคะนนท์
31/10/2023 09:00:00 - 31/10/2023 16:00:00 7 ชม. 0 นาที
  • DAT positive
  • AIHA
  • 3) อธิบายหลักการ วิธีการ การอ่านผล รายงานผล และแปลผลการทดสอบการเลือกโลหิตและส่วนประกอบให้ผู้ป่วย ในงานประจำ รวมทั้งการวิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ไขกรณีมีปัญหาเกี่ยวกับการเลือกเลือดให้ผู้ป่วย เช่น กรณี ABO discrepan-cies, Weak D, incompatible blood, DAT-positive, multiple antibodies
ปฏิบัติการ
รศ. ดร.อังกูรา สุโภคเวช รศ. ดร.ดลินา ตันหยง ผศ. ดร.วิชนันท์ แย้มกมล ผศ. ดร.สุมนา ดาเก็ง อ. ดร.วศินี เขียนสอาด รศ. ดร.พรลดา นุชน้อย ผศ. ดร.จิตรดา เพชรฟอง อ. ดร.พจนารถ วานิจจะกูล อ. ดร.ชุลีพร พนัสอัมพร ผศ. ดร.ชุติพงศ์ สุขคะนนท์
07/11/2023 09:00:00 - 07/11/2023 16:00:00 7 ชม. 0 นาที
  • Adverse effect in blood transfusion
  • 4) อธิบายพยาธิสรีรวิทยาของภาวะที่มีผลจากปฏิกิริยาระหว่างแอนติเจน-แอนติบอดีของเม็ดเลือดแดง เช่น Hemolytic dis-ease of the fetus and newborn (HDFN), Hemolytic Transfusion reaction (HTR), Autoimmune hemolytic anemia (AIHA) รวมทั้งบอกหลักการ วิธีการ และทำการทดสอบเพื่อวินิจฉัยและเลือกเลือด/ส่วนประกอบให้แก่ผู้ป่วยดังกล่าว
ปฏิบัติการ
รศ. ดร.อังกูรา สุโภคเวช รศ. ดร.ดลินา ตันหยง ผศ. ดร.วิชนันท์ แย้มกมล ผศ. ดร.สุมนา ดาเก็ง อ. ดร.วศินี เขียนสอาด รศ. ดร.พรลดา นุชน้อย ผศ. ดร.จิตรดา เพชรฟอง อ. ดร.พจนารถ วานิจจะกูล อ. ดร.ชุลีพร พนัสอัมพร ผศ. ดร.ชุติพงศ์ สุขคะนนท์
14/11/2023 09:00:00 - 14/11/2023 16:00:00 7 ชม. 0 นาที
  • Pediatric transfusion and HDFN
  • 4) อธิบายพยาธิสรีรวิทยาของภาวะที่มีผลจากปฏิกิริยาระหว่างแอนติเจน-แอนติบอดีของเม็ดเลือดแดง เช่น Hemolytic dis-ease of the fetus and newborn (HDFN), Hemolytic Transfusion reaction (HTR), Autoimmune hemolytic anemia (AIHA) รวมทั้งบอกหลักการ วิธีการ และทำการทดสอบเพื่อวินิจฉัยและเลือกเลือด/ส่วนประกอบให้แก่ผู้ป่วยดังกล่าว
ปฏิบัติการ
รศ. ดร.อังกูรา สุโภคเวช รศ. ดร.ดลินา ตันหยง ผศ. ดร.วิชนันท์ แย้มกมล ผศ. ดร.สุมนา ดาเก็ง อ. ดร.วศินี เขียนสอาด รศ. ดร.พรลดา นุชน้อย ผศ. ดร.จิตรดา เพชรฟอง อ. ดร.พจนารถ วานิจจะกูล อ. ดร.ชุลีพร พนัสอัมพร ผศ. ดร.ชุติพงศ์ สุขคะนนท์
21/11/2023 09:00:00 - 21/11/2023 16:00:00 7 ชม. 0 นาที
  • Quality management system
  • Quality control of reagent and equipment
  • 5) อธิบายแนวทางการบริหารจัดการธนาคารเลือด/การบริการโลหิต ลำดับการปฏิบัติงาน (workflow) ระบบการจัดการคุณภาพ การควบคุมคุณภาพภายใน และการทดสอบเพื่อควบคุมคุณภาพประจำวันในงานธนาคารเลือด
  • 6) อธิบายแนวการพัฒนางานธนาคารเลือด/การบริการโลหิต การใช้เครื่องอัตโนมัติในการทดสอบ ข้อดีข้อเสีย ตลอดจนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและแนวทางพัฒนาโดยงานวิจัยได้
ปฏิบัติการ
รศ. ดร.อังกูรา สุโภคเวช รศ. ดร.ดลินา ตันหยง ผศ. ดร.วิชนันท์ แย้มกมล ผศ. ดร.สุมนา ดาเก็ง อ. ดร.วศินี เขียนสอาด รศ. ดร.พรลดา นุชน้อย ผศ. ดร.จิตรดา เพชรฟอง อ. ดร.พจนารถ วานิจจะกูล อ. ดร.ชุลีพร พนัสอัมพร ผศ. ดร.ชุติพงศ์ สุขคะนนท์
28/11/2023 09:00:00 - 28/11/2023 16:00:00 7 ชม. 0 นาที
  • สอบข้อเขียน และสอบปฏิบัติ
สอบ
รศ. ดร.อังกูรา สุโภคเวช รศ. ดร.ดลินา ตันหยง ผศ. ดร.วิชนันท์ แย้มกมล ผศ. ดร.สุมนา ดาเก็ง อ. ดร.วศินี เขียนสอาด รศ. ดร.พรลดา นุชน้อย ผศ. ดร.จิตรดา เพชรฟอง อ. ดร.พจนารถ วานิจจะกูล อ. ดร.ชุลีพร พนัสอัมพร ผศ. ดร.ชุติพงศ์ สุขคะนนท์

การเรียนการสอนนอกห้องเรียน

วันที่ เวลา หัวข้อ ประเภท รูปแบบ จำนวนชั่วโมง/คน ผู้รับผิดชอบ

หมวด 5 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

Required Materials
ลำดับ รายละเอียด
1 ๑ ) หนังสือปฏิบัติการวิทยาศาสตร์การบริการโลหิต ๑ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล ๒ ) คู่มือ การคัดเลือกผู้บริจาคโลหิต ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ ๖ พ.ศ. ๒๕๖๐ ๓ ) มาตรฐานธนาคารเลือด และงานบริการโลหิต . Standards for Blood Banks and Transfusion Services ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ ๔ พ.ศ. ๒๕๕๘ ๔ ) Harmening DM. Modern Blood banking and Transfusion Practice. 5th- 6 th edition. Philadelphia, F.A. Davis company. 2005- ล่าสุด ๕ ) Blaney KD, Howard PR, Basic & Applied Concepts of Immunohematology 2 nd ed. Mosby ELSEVIER 2009.-ล่าสุด ๖ ) คู่มือ แนวทางการเฝ้าระวัง ความปลอดภัยของโลหิต (Guideline on Hemovigilance) ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๘ ๗ ) เอกสารคำสอนประกอบการบรรยาย
Suggested Materials
ลำดับ รายละเอียด
1 ๑ ) aaBB Technical Manual .14 th ed. Amarican Association of Blood Banks, Maryland, USA. ถึง edition ล่าสุด ๒ ) การใช้โลหิต และส่วนประกอบโลหิตอย่างเหมาะสม คู่มือแพทย์ ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๔
Other Resources
ลำดับ รายละเอียด