ประมวลผลรายวิชา มม.3

หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ทนคร319
MTID319
ภูมิคุ้มกันโลหิตวิทยาสำหรับวิทยาศาสตร์การบริการโลหิต
Immunohematology for Transfusion Science
ปี 3
2 หน่วย (บรรยาย 1, ปฏิบัติ 1)
2 / 2566
116 คน show
ผศ. ดร.ชุติพงศ์ สุขคะนนท์
หมวดที่ 2 เป้าหมายและคำอธิบายรายวิชา
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานภาคทฤษฎีของงานในธนาคารเลือดและการบริการโลหิต คือภูมิคุ้มกันโลหิตวิทยา และฝึกทักษะในภาคปฏิบัติ เพื่อสามารถทำการทดสอบประจำที่จำเป็นได้แก่ การทดสอบหาหมู่เลือดที่สำคัญ และการทดสอบที่จำเป็นเพื่อการเลือกเลือดให้แก่ผู้ป่วย และการตรวจหาโรคที่ติดต่อทางโลหิตและส่วนประกอบ
ความรู้ความเข้าใจโรคติดเชื้อไวรัสที่ติดต่อทางโลหิตที่มีความสำคัญทางการแพทย์ ความรู้พื้นฐานระดับโมเลกุล รูปร่างลักษณะและคุณสมบัติที่สำคัญของไวรัส หลักเกณฑ์ วิธีทางการตรวจคัดกรองและตรวจยืนยันเชื้อไวรัสที่ติดต่อทางโลหิตในงานบริการโลหิต ความรู้ความเข้าใจและทักษะเกี่ยวกับภูมิคุ้มกันเกี่ยวกับเซลล์เม็ดเลือดต่างๆ ซึ่งเป็นวิทยาศาสตร์การบริการโลหิต ได้แก่ การถ่ายทอดทางพันธุกรรมของแอนติเจนบนเม็ดเลือด การสร้างภูมิคุ้มกันต่อแอนติเจนบนเซลล์เม็ดเลือดของระบบหมู่เลือดที่สำคัญ เทคนิคพื้นฐานการเตรียมและตรวจสอบมาตรฐานของเซลล์ น้ำยา และเครื่องมือ การทดสอบ การอ่านผล บันทึกผล แปลผลการทดสอบปฏิกิริยาแอนติเจน-แอนติบอดี การแตกและการจับกลุ่มของเม็ดเลือดแดงในหลอดทดลอง การทดสอบหาแอนติเจนหรือหมู่เลือดที่สำคัญบนเม็ดเลือดแดง การทดสอบหาแอนติบอดีของหมู่เลือดในซีรัม แอนติบอดีที่จับกับแอนติเจนบนเม็ดเลือดแดง และการทดสอบเพื่อเลือกเลือดให้ผู้ป่วย
An understanding of the medical important blood-transmitted viruses, i.e., molecular basis of virus, morphology, biological properties, and current screening and confirmatory approaches of blood-transmitted viruses in Blood banking and Transfusion science. An understanding of the principle of Immunohematology involving in Blood Banking and Transfusion science, i.e., human blood group systems and genetics, blood group immunology - antigens and antibodies. Basic techniques in Immunohematology; detection, report, and interpretation of antigen-antibody reaction - hemolysis and agglutination in vitro, detection of antigen on red blood cells, identification of antibodies in serum and on sensitized-red blood cells, compatibility testing, preparation of standard cells, quality control assessment of reagents, reagent red cells, and equipment.
หมวดที่ 3 แผนการดำเนินการและการประเมินผลที่สอดคล้องกับผลลัพธ์การเรียนรู้
วัตถุประสงค์รายวิชา
เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนแล้ว นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในงานธนาคารเลือดและการบริการโลหิต สามารถอธิบายถึงคุณสมบัติ วิธีการตรวจคัดกรอง และตรวจยืนยันเชื้อไวรัสที่ติดต่อทางโลหิตในงานบริการโลหิตได้ สามารถอธิบายถึงคุณสมบัติของหมู่เลือดที่สำคัญระบบต่าง ๆ และการสร้างภูมิคุ้มกันต่อแอนติเจนบนเซลล์เม็ดเลือดของหมู่เลือดระบบที่สำคัญ รู้หลักการและสามารถทดสอบหาหมู่เลือดและแอนติบอดีต่อหมู่เลือดในงานธนาคารเลือด รวมทั้งรู้หลักการและสามารถเลือกเลือดที่ปลอดภัยให้แก่ผู้ป่วย อีกทั้งสามารถตรวจสอบมาตรฐานของเซลล์ น้ำยา และเครื่องมือที่ใช้ในงานประจำของธนาคารเลือดได้
ความสอดคล้องกับรายวิชาและหลักสูตร
PLO Sub PLO
PLO1 ปฏิบัติงานทางวิชาชีพได้ไม่ต่ํากว่ามาตรฐานวิชาชีพเทคนิคการแพทย์ CLO1 CLO2 CLO4 CLO5 CLO6 CLO7 CLO8 CLO9 CLO10
PLO2 เลือกและใช้เทคโนโลยีเพื่อการปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการ และการดูแลสุขภาพได้อย่าง เหมาะสม
PLO3 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการจัดการข้อมูลทางห้องปฏิบัติการและสามารถวิเคราะห์ ข้อมลสู ุขภาพได้
PLO4 ให้คําแนะนําเกี่ยวกับการตรวจ ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องกับภาวะสุขภาพ ได้อย่างเหมาะสมแก่บุคลากรทางการแพทย์ผู้ป่วย และประชาชน
PLO5 บริหารจัดการห้องปฏิบัติการทางเทคนิคการแพทย์ได้อย่างเหมาะสม
PLO6 ทํางานเป็นทีมกับสหวิชาชีพ ทีมสขภาพ ุ โดยเชื่อมโยงบริบทของวิชาชีพเทคนิคการแพทย์ส ู่ การดูแล และสร้างเสริมสุขภาพ CLO3 CLO4
PLO7 ทําวิจัยเบื้องต้นเพื่อแก้ปัญหา พัฒนา และ/หรือสร้างสรรค์สิ่งใหม ่
PLO8 แสดงออกซึ่งคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ CLO11
PLO10 แสดงออกถึงแนวคิดการเป็นผู้ประกอบการเทคนิคการแพทย
ผลลัพธ์การเรียนรู้ของรายวิชาและการประเมินผล (Course Learning Outcomes and Assessment)

การประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ (Formative Assessment)

ลำดับ ระยะเวลา รายละเอียด เครื่องมือ การป้อนกลับให้ผู้เรียน

การประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียนรู้ (Summative Assessment)

ลำดับ ผลลัพธ์การเรียนรู้และแผนการดำเนินการ

ประกอบด้วย action verb + learning content + criteria/standard

PLOs สัดส่วนคะแนน
CLO1

PLO1

อธิบายความรู้พื้นฐานระดับโมเลกุล คุณสมบัติที่สำคัญ กลไกการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันและกลไกการก่อให้เกิดโรคของเชื้อไวรัสที่มีความสำคัญทางการแพทย์และธนาคารเลือด

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
บรรยาย

สอบข้อเขียน 7.5%
อภิปราย

สังเกตการณ์ 7.50%
1 15%
CLO2

PLO1

อธิบายหลักการทดสอบวิเคราะห์ และแปลผลทางห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยา โดยประยุกต์ใช้เทคนิคต่างๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบันและเทคโนโลยีใหม่ที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการตรวจวินิจฉัย การรักษา การป้องกัน การควบคุมโรค และการส่งเสริมสุขภาวะชุมชน

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
บรรยาย

สอบข้อเขียน 8.50%
อภิปราย

สังเกตการณ์ 8.00%
1 16.5%
CLO3

PLO6

อธิบายและถ่ายทอดความรู้พื้นฐานทางไวรัสวิทยาให้กับชุมชนและสังคม รวมถึงผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องในสหวิชาชีพ เช่น แพทย์และพยาบาล

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
บรรยาย

สอบข้อเขียน 1.5%
อภิปราย

สังเกตการณ์ 1.50%
1 3%
CLO4

PLO1 PLO6

สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับการวิเคราะห์โรค และการพัฒนาไปสู่งานวิจัย เพื่อศึกษาต่อในระดับวิชาชีพที่สูงขึ้น หรือให้ความร่วมมือกับสาขาอื่นที่สัมพันธ์กับวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์การแพทย์

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
อภิปราย

สังเกตการณ์ 2.00%
2 2%
CLO5

PLO1

บอกถึงชนิดของเชื้อไวรัสที่มีการตรวจคัดกรองในโลหิตบริจาคของงานธนาคารเลือด อธิบายถึงวิธีการตรวจคัดกรอง การทดสอบทางห้องปฏิบัติการเพื่อการวินิจฉัยและการยืนยันผลการทดสอบ การรายงานผล และแนวทางการให้คำปรึกษา

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
บรรยาย

สอบข้อเขียน 5%
อภิปราย

สังเกตการณ์ 5.00%
1 10%
CLO6

PLO1

อธิบายพื้นฐานภูมิคุ้มกันโลหิตวิทยา (Immune hematology) เกี่ยวกับแอนติเจนแอนติบอดีของเม็ดเลือดแดง การถ่ายทอดทางพันธุกรรม การสร้างแอนติเจน การสร้างภูมิคุ้มกัน กลไกการเกิดพยาธิสภาพจากปฏิกิริยาแอนติเจน แอนติบอดี (antigen anti-body reaction) ในร่างกายได้

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
บรรยาย

สอบข้อเขียน 2.50%
1 2.5%
CLO7

PLO1

บอกระบบหมู่เลือด (blood group system) ต่างๆ ที่สำคัญทางคลินิก การถ่ายทอดทางพันธุกรรม คุณสมบัติเฉพาะแต่ละระบบ และทำการทดสอบเพื่อตรวจหมู่เลือดที่สำคัญทางคลินิกด้วยเทคนิคทางภูมิคุ้มกันโลหิตวิทยา อ่านผลและแปลผลได้ถูกต้อง

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
ปฏิบัติการ

สอบปฏิบัติการ 14.1%
บรรยาย

สอบข้อเขียน 14.1%
1 28.2%
CLO8

PLO1

บอกหลักการ วิธีการ การประยุกต์ใช้และทำการทดสอบ antiglobulin test เพื่อหาปฏิกิริยาของแอนติบอดีชนิด IgG ที่จับอยู่บนเม็ดเลือดแดง (Direct antiglobulin test) และแอนติบอดีในซีรัม (Indirect antiglobulin test)

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
บรรยาย

สอบข้อเขียน 6.2%
ปฏิบัติการ

สอบปฏิบัติการ 6.20%
1 12.4%
CLO9

PLO1

บอกหลักการ วิธีการใช้ LISS, enzyme และเทคนิคอื่นๆ เพื่อตรวจหาปฏิกิริยาแอนติเจน-แอนติบอดีของระบบหมู่เลือดได้

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
บรรยาย

สอบข้อเขียน 1.7%
ปฏิบัติการ

สอบปฏิบัติการ 1.70%
1 3.4%
CLO10

PLO1

บอกหลักการ วิธีการ และทำการทดสอบเพื่อเลือกเลือดและส่วนประกอบของเลือดที่ปลอดภัยให้ผู้ป่วยได้ (compatibility test) รวมทั้งบอกข้อจำกัด ข้อควรระวังได้

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
บรรยาย

สอบข้อเขียน 1.7%
ปฏิบัติการ

สอบปฏิบัติการ 1.70%
1 3.4%
CLO11

PLO8

แสดงออกถึงการมีคุณธรรมและจริยธรรมในการประกอบอาชีพและมีเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพ แสดงออกถึงความรับผิดชอบในการเรียน งานที่ได้รับมอบหมาย มีวินัย ตรงต่อเวลา และความซื่อสัตย์

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
กิจกรรมกลุ่ม

สังเกตการณ์ 3.60%
1 3.6%
100.0%
การให้เกรด
สัญลักษณ์ คำอธิบาย เกณฑ์
A =>80
B+ 75-79
B 70-74
C+ 65-69
C 60-64
D+ 55-59
D 51-54
F <=50

การอุทธรณ์ของนักศึกษา

ผู้เรียนสามารถติดต่อหัวหน้าภาควิชาจุลทรรศนศาสตร์คลินิก หรือผู้รับผิดชอบรายวิชา

การแก้ไขผลการเรียน หรือ การสอบแก้ตัว

1. รายวิชานี้ เปิดโอกาสให้นักศึกษา “สอบแก้ตัว” ในภาคทฏษฎี ในกรณีที่ นักศึกษาได้คะแนนต่ำกว่ากลุ่มอย่างชัดเจน หรือได้คะแนนต่ำกว่าร้อยละ ๕๕ โดยให้สามารถสอบแก้ตัวได้ ๑ ครั้ง และต้องผ่านตามเกณฑ์ที่กำหนด โดยใช้ข้อสอบเดิม และนักศึกษาที่สอบแก้ตัวจะได้คะแนนไม่เกินครึ่งหนึ่งของคะแนนเต็ม 2. รายวิชานี้ เปิดโอกาสให้นักศึกษา “สอบแก้ตัว” ในภาคปฏิบัติ ในกรณีที่ นักศึกษาได้คะแนนต่ำกว่ากลุ่มอย่างชัดเจน หรือได้คะแนนต่ำกว่าร้อยละ ๖๐ โดยให้สามารถสอบแก้ตัวได้ ๑ ครั้ง และต้องผ่านตามเกณฑ์ที่กำหนด โดยใช้ข้อสอบเดิม และนักศึกษาที่สอบแก้ตัวจะได้คะแนนไม่เกินครึ่งหนึ่งของคะแนนเต็ม โดยทำการสอบแก้ตัวทันทีหลังสอบปฏิบัติการ
หมวดที่ 4 แผนการสอน
ผู้สอน
ชื่อ สังกัด บทบาท ชั่วโมง
รศ. ดร.อังกูรา สุโภคเวช ภาควิชาจุลทรรศนศาสตร์คลินิก ผู้สอน 23 ชม. 30 นาที
รศ. ดร.ดลินา ตันหยง ภาควิชาจุลทรรศนศาสตร์คลินิก ผู้สอน 24 ชม. 0 นาที
ผศ. ดร.วิชนันท์ แย้มกมล ภาควิชาจุลทรรศนศาสตร์คลินิก ผู้สอน 20 ชม. 30 นาที
ผศ. ดร.สุมนา ดาเก็ง ภาควิชาจุลทรรศนศาสตร์คลินิก ผู้สอน 20 ชม. 30 นาที
อ. ดร.พจนารถ วานิจจะกูล ภาควิชาจุลทรรศนศาสตร์คลินิก ผู้สอน 21 ชม. 30 นาที
อ. ดร.วศินี เขียนสอาด ภาควิชาจุลทรรศนศาสตร์คลินิก ผู้สอน 22 ชม. 0 นาที
ผศ. ดร.จิตรดา เพชรฟอง ภาควิชาจุลทรรศนศาสตร์คลินิก ผู้รับผิดชอบ 28 ชม. 30 นาที
ผศ. ดร.ชุติพงศ์ สุขคะนนท์ ภาควิชาจุลทรรศนศาสตร์คลินิก ผู้ร่วมรับผิดชอบ 24 ชม. 30 นาที
อ. ดร.เปี่ยมศิริ จิระอมรนิมิต ภาควิชาจุลทรรศนศาสตร์คลินิก ผู้สอน 22 ชม. 0 นาที
รศ. ดร.พรลดา นุชน้อย ศูนย์วิจัยพัฒนานวัตกรรมและชีวการแพทย์สารสนเทศ ผู้สอน 23 ชม. 0 นาที
รศ. ดร.ประพิมพรรณ วงศ์จิตรัตน์ ศูนย์วิจัยพัฒนานวัตกรรมและชีวการแพทย์สารสนเทศ ผู้สอน 3 ชม. 0 นาที
ผศ. ดร.ดลพร ริยะป่า ศูนย์วิจัยพัฒนานวัตกรรมและชีวการแพทย์สารสนเทศ ผู้สอน 5 ชม. 0 นาที
อ. ดร.นฤทัย อรศิริสกุล ศูนย์วิจัยพัฒนานวัตกรรมและชีวการแพทย์สารสนเทศ ผู้สอน 5 ชม. 30 นาที
ผศ. ดร.สินีวัลยา วิชิต ภาควิชาจุลชีววิทยาและเทคโนโลยีประยุกต์ ผู้สอน 4 ชม. 0 นาที
ผศ. ดร.วิชญาพร คำพรม ภาควิชาจุลชีววิทยาและเทคโนโลยีประยุกต์ ผู้สอน 4 ชม. 0 นาที
ผศ. ดร.กุลธิดา กิติดี ศูนย์วิจัยพัฒนานวัตกรรมและชีวการแพทย์สารสนเทศ ผู้ร่วมรับผิดชอบ 7 ชม. 0 นาที
รศ. ดร.หทัยรัตน์ เลิศสำราญ ศูนย์วิจัยพัฒนานวัตกรรมและชีวการแพทย์สารสนเทศ ผู้ร่วมรับผิดชอบ 9 ชม. 0 นาที

การเรียนการสอนในห้องเรียน

วันที่ เวลา ห้อง หัวข้อ CLOs ประเภท ผู้สอน
10/01/2024 09:00:00 - 10/01/2024 09:30:00 0 ชม. 30 นาที
  • Virology introduction
  • 1) อธิบายความรู้พื้นฐานระดับโมเลกุล คุณสมบัติที่สำคัญ กลไกการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันและกลไกการก่อให้เกิดโรคของเชื้อไวรัสที่มีความสำคัญทางการแพทย์และธนาคารเลือด
บรรยาย
ผศ. ดร.กุลธิดา กิติดี รศ. ดร.หทัยรัตน์ เลิศสำราญ
10/01/2024 09:30:00 - 10/01/2024 10:30:00 1 ชม. 0 นาที
  • Activity/Discussion 1: Open the world of viral diseases
  • 1) อธิบายความรู้พื้นฐานระดับโมเลกุล คุณสมบัติที่สำคัญ กลไกการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันและกลไกการก่อให้เกิดโรคของเชื้อไวรัสที่มีความสำคัญทางการแพทย์และธนาคารเลือด
  • 3) อธิบายและถ่ายทอดความรู้พื้นฐานทางไวรัสวิทยาให้กับชุมชนและสังคม รวมถึงผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องในสหวิชาชีพ เช่น แพทย์และพยาบาล
  • 4) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับการวิเคราะห์โรค และการพัฒนาไปสู่งานวิจัย เพื่อศึกษาต่อในระดับวิชาชีพที่สูงขึ้น หรือให้ความร่วมมือกับสาขาอื่นที่สัมพันธ์กับวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์การแพทย์
กิจกรรม
ผศ. ดร.สินีวัลยา วิชิต ผศ. ดร.ดลพร ริยะป่า ผศ. ดร.วิชญาพร คำพรม ผศ. ดร.กุลธิดา กิติดี รศ. ดร.หทัยรัตน์ เลิศสำราญ รศ. ดร.ประพิมพรรณ วงศ์จิตรัตน์ อ. ดร.นฤทัย อรศิริสกุล
10/01/2024 10:30:00 - 10/01/2024 12:00:00 1 ชม. 30 นาที
  • Viruses & Viral pathogenesis
  • 1) อธิบายความรู้พื้นฐานระดับโมเลกุล คุณสมบัติที่สำคัญ กลไกการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันและกลไกการก่อให้เกิดโรคของเชื้อไวรัสที่มีความสำคัญทางการแพทย์และธนาคารเลือด
บรรยาย
รศ. ดร.หทัยรัตน์ เลิศสำราญ
17/01/2024 09:00:00 - 17/01/2024 11:00:00 2 ชม. 0 นาที
  • Host immune response to viral infection & immunopathogenesis of virus infection
  • 1) อธิบายความรู้พื้นฐานระดับโมเลกุล คุณสมบัติที่สำคัญ กลไกการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันและกลไกการก่อให้เกิดโรคของเชื้อไวรัสที่มีความสำคัญทางการแพทย์และธนาคารเลือด
บรรยาย
ผศ. ดร.ดลพร ริยะป่า
17/01/2024 11:00:00 - 17/01/2024 12:00:00 1 ชม. 0 นาที
  • Specimen collections and handling for viral infection
  • 1) อธิบายความรู้พื้นฐานระดับโมเลกุล คุณสมบัติที่สำคัญ กลไกการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันและกลไกการก่อให้เกิดโรคของเชื้อไวรัสที่มีความสำคัญทางการแพทย์และธนาคารเลือด
บรรยาย
รศ. ดร.หทัยรัตน์ เลิศสำราญ
24/01/2024 09:00:00 - 24/01/2024 10:00:00 1 ชม. 0 นาที
  • Laboratory investigation of viral diseases I
  • 1) อธิบายความรู้พื้นฐานระดับโมเลกุล คุณสมบัติที่สำคัญ กลไกการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันและกลไกการก่อให้เกิดโรคของเชื้อไวรัสที่มีความสำคัญทางการแพทย์และธนาคารเลือด
  • 2) อธิบายหลักการทดสอบวิเคราะห์ และแปลผลทางห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยา โดยประยุกต์ใช้เทคนิคต่างๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบันและเทคโนโลยีใหม่ที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการตรวจวินิจฉัย การรักษา การป้องกัน การควบคุมโรค และการส่งเสริมสุขภาวะชุมชน
บรรยาย
ผศ. ดร.วิชญาพร คำพรม
24/01/2024 10:00:00 - 24/01/2024 11:00:00 1 ชม. 0 นาที
  • Laboratory investigation of viral diseases II
  • 1) อธิบายความรู้พื้นฐานระดับโมเลกุล คุณสมบัติที่สำคัญ กลไกการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันและกลไกการก่อให้เกิดโรคของเชื้อไวรัสที่มีความสำคัญทางการแพทย์และธนาคารเลือด
  • 2) อธิบายหลักการทดสอบวิเคราะห์ และแปลผลทางห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยา โดยประยุกต์ใช้เทคนิคต่างๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบันและเทคโนโลยีใหม่ที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการตรวจวินิจฉัย การรักษา การป้องกัน การควบคุมโรค และการส่งเสริมสุขภาวะชุมชน
บรรยาย
ผศ. ดร.สินีวัลยา วิชิต
24/01/2024 11:00:00 - 24/01/2024 12:00:00 1 ชม. 0 นาที
  • Hepatitis viruses 1: HAV and HEV
  • 1) อธิบายความรู้พื้นฐานระดับโมเลกุล คุณสมบัติที่สำคัญ กลไกการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันและกลไกการก่อให้เกิดโรคของเชื้อไวรัสที่มีความสำคัญทางการแพทย์และธนาคารเลือด
  • 2) อธิบายหลักการทดสอบวิเคราะห์ และแปลผลทางห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยา โดยประยุกต์ใช้เทคนิคต่างๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบันและเทคโนโลยีใหม่ที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการตรวจวินิจฉัย การรักษา การป้องกัน การควบคุมโรค และการส่งเสริมสุขภาวะชุมชน
  • 5) บอกถึงชนิดของเชื้อไวรัสที่มีการตรวจคัดกรองในโลหิตบริจาคของงานธนาคารเลือด อธิบายถึงวิธีการตรวจคัดกรอง การทดสอบทางห้องปฏิบัติการเพื่อการวินิจฉัยและการยืนยันผลการทดสอบ การรายงานผล และแนวทางการให้คำปรึกษา
บรรยาย
อ. ดร.นฤทัย อรศิริสกุล
31/01/2024 09:00:00 - 31/01/2024 10:30:00 1 ชม. 30 นาที
  • Hepatitis viruses 2: HBV, HDV, HCV and others
  • 1) อธิบายความรู้พื้นฐานระดับโมเลกุล คุณสมบัติที่สำคัญ กลไกการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันและกลไกการก่อให้เกิดโรคของเชื้อไวรัสที่มีความสำคัญทางการแพทย์และธนาคารเลือด
  • 2) อธิบายหลักการทดสอบวิเคราะห์ และแปลผลทางห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยา โดยประยุกต์ใช้เทคนิคต่างๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบันและเทคโนโลยีใหม่ที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการตรวจวินิจฉัย การรักษา การป้องกัน การควบคุมโรค และการส่งเสริมสุขภาวะชุมชน
  • 5) บอกถึงชนิดของเชื้อไวรัสที่มีการตรวจคัดกรองในโลหิตบริจาคของงานธนาคารเลือด อธิบายถึงวิธีการตรวจคัดกรอง การทดสอบทางห้องปฏิบัติการเพื่อการวินิจฉัยและการยืนยันผลการทดสอบ การรายงานผล และแนวทางการให้คำปรึกษา
บรรยาย
อ. ดร.นฤทัย อรศิริสกุล
31/01/2024 10:30:00 - 31/01/2024 12:00:00 1 ชม. 30 นาที
  • HIV/AIDS 1: General properties of HIV and pathogenesis
  • 1) อธิบายความรู้พื้นฐานระดับโมเลกุล คุณสมบัติที่สำคัญ กลไกการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันและกลไกการก่อให้เกิดโรคของเชื้อไวรัสที่มีความสำคัญทางการแพทย์และธนาคารเลือด
  • 2) อธิบายหลักการทดสอบวิเคราะห์ และแปลผลทางห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยา โดยประยุกต์ใช้เทคนิคต่างๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบันและเทคโนโลยีใหม่ที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการตรวจวินิจฉัย การรักษา การป้องกัน การควบคุมโรค และการส่งเสริมสุขภาวะชุมชน
  • 5) บอกถึงชนิดของเชื้อไวรัสที่มีการตรวจคัดกรองในโลหิตบริจาคของงานธนาคารเลือด อธิบายถึงวิธีการตรวจคัดกรอง การทดสอบทางห้องปฏิบัติการเพื่อการวินิจฉัยและการยืนยันผลการทดสอบ การรายงานผล และแนวทางการให้คำปรึกษา
บรรยาย
ผศ. ดร.กุลธิดา กิติดี
07/02/2024 09:00:00 - 07/02/2024 11:00:00 2 ชม. 0 นาที
  • Activity/Discussion 2: Case study of Hepatitis virus infection
  • 1) อธิบายความรู้พื้นฐานระดับโมเลกุล คุณสมบัติที่สำคัญ กลไกการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันและกลไกการก่อให้เกิดโรคของเชื้อไวรัสที่มีความสำคัญทางการแพทย์และธนาคารเลือด
  • 2) อธิบายหลักการทดสอบวิเคราะห์ และแปลผลทางห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยา โดยประยุกต์ใช้เทคนิคต่างๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบันและเทคโนโลยีใหม่ที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการตรวจวินิจฉัย การรักษา การป้องกัน การควบคุมโรค และการส่งเสริมสุขภาวะชุมชน
  • 3) อธิบายและถ่ายทอดความรู้พื้นฐานทางไวรัสวิทยาให้กับชุมชนและสังคม รวมถึงผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องในสหวิชาชีพ เช่น แพทย์และพยาบาล
  • 4) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับการวิเคราะห์โรค และการพัฒนาไปสู่งานวิจัย เพื่อศึกษาต่อในระดับวิชาชีพที่สูงขึ้น หรือให้ความร่วมมือกับสาขาอื่นที่สัมพันธ์กับวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์การแพทย์
  • 5) บอกถึงชนิดของเชื้อไวรัสที่มีการตรวจคัดกรองในโลหิตบริจาคของงานธนาคารเลือด อธิบายถึงวิธีการตรวจคัดกรอง การทดสอบทางห้องปฏิบัติการเพื่อการวินิจฉัยและการยืนยันผลการทดสอบ การรายงานผล และแนวทางการให้คำปรึกษา
กิจกรรม
ผศ. ดร.สินีวัลยา วิชิต ผศ. ดร.ดลพร ริยะป่า ผศ. ดร.วิชญาพร คำพรม ผศ. ดร.กุลธิดา กิติดี รศ. ดร.หทัยรัตน์ เลิศสำราญ รศ. ดร.ประพิมพรรณ วงศ์จิตรัตน์ อ. ดร.นฤทัย อรศิริสกุล
07/02/2024 11:00:00 - 07/02/2024 12:00:00 1 ชม. 0 นาที
  • Opportunistic infections in AIDS and other diseases
  • 1) อธิบายความรู้พื้นฐานระดับโมเลกุล คุณสมบัติที่สำคัญ กลไกการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันและกลไกการก่อให้เกิดโรคของเชื้อไวรัสที่มีความสำคัญทางการแพทย์และธนาคารเลือด
  • 2) อธิบายหลักการทดสอบวิเคราะห์ และแปลผลทางห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยา โดยประยุกต์ใช้เทคนิคต่างๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบันและเทคโนโลยีใหม่ที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการตรวจวินิจฉัย การรักษา การป้องกัน การควบคุมโรค และการส่งเสริมสุขภาวะชุมชน
  • 5) บอกถึงชนิดของเชื้อไวรัสที่มีการตรวจคัดกรองในโลหิตบริจาคของงานธนาคารเลือด อธิบายถึงวิธีการตรวจคัดกรอง การทดสอบทางห้องปฏิบัติการเพื่อการวินิจฉัยและการยืนยันผลการทดสอบ การรายงานผล และแนวทางการให้คำปรึกษา
บรรยาย
รศ. ดร.หทัยรัตน์ เลิศสำราญ
14/02/2024 09:00:00 - 14/02/2024 11:00:00 2 ชม. 0 นาที
  • สอบข้อเขียนภาคทฤษฎี
  • 1) อธิบายความรู้พื้นฐานระดับโมเลกุล คุณสมบัติที่สำคัญ กลไกการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันและกลไกการก่อให้เกิดโรคของเชื้อไวรัสที่มีความสำคัญทางการแพทย์และธนาคารเลือด
  • 2) อธิบายหลักการทดสอบวิเคราะห์ และแปลผลทางห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยา โดยประยุกต์ใช้เทคนิคต่างๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบันและเทคโนโลยีใหม่ที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการตรวจวินิจฉัย การรักษา การป้องกัน การควบคุมโรค และการส่งเสริมสุขภาวะชุมชน
  • 5) บอกถึงชนิดของเชื้อไวรัสที่มีการตรวจคัดกรองในโลหิตบริจาคของงานธนาคารเลือด อธิบายถึงวิธีการตรวจคัดกรอง การทดสอบทางห้องปฏิบัติการเพื่อการวินิจฉัยและการยืนยันผลการทดสอบ การรายงานผล และแนวทางการให้คำปรึกษา
สอบ
ผศ. ดร.กุลธิดา กิติดี รศ. ดร.หทัยรัตน์ เลิศสำราญ
21/02/2024 09:00:00 - 21/02/2024 09:15:00 0 ชม. 15 นาที
  • Immunohematology course orientation
  • 6) อธิบายพื้นฐานภูมิคุ้มกันโลหิตวิทยา (Immune hematology) เกี่ยวกับแอนติเจนแอนติบอดีของเม็ดเลือดแดง การถ่ายทอดทางพันธุกรรม การสร้างแอนติเจน การสร้างภูมิคุ้มกัน กลไกการเกิดพยาธิสภาพจากปฏิกิริยาแอนติเจน แอนติบอดี (antigen anti-body reaction) ในร่างกายได้
บรรยาย
ผศ. ดร.จิตรดา เพชรฟอง
21/02/2024 09:15:00 - 21/02/2024 10:00:00 0 ชม. 45 นาที
  • Blood Transfusion history & update
  • 6) อธิบายพื้นฐานภูมิคุ้มกันโลหิตวิทยา (Immune hematology) เกี่ยวกับแอนติเจนแอนติบอดีของเม็ดเลือดแดง การถ่ายทอดทางพันธุกรรม การสร้างแอนติเจน การสร้างภูมิคุ้มกัน กลไกการเกิดพยาธิสภาพจากปฏิกิริยาแอนติเจน แอนติบอดี (antigen anti-body reaction) ในร่างกายได้
บรรยาย
ผศ. ดร.จิตรดา เพชรฟอง
21/02/2024 10:00:00 - 21/02/2024 11:00:00 1 ชม. 0 นาที
  • Genetics in Blood Banking
  • 6) อธิบายพื้นฐานภูมิคุ้มกันโลหิตวิทยา (Immune hematology) เกี่ยวกับแอนติเจนแอนติบอดีของเม็ดเลือดแดง การถ่ายทอดทางพันธุกรรม การสร้างแอนติเจน การสร้างภูมิคุ้มกัน กลไกการเกิดพยาธิสภาพจากปฏิกิริยาแอนติเจน แอนติบอดี (antigen anti-body reaction) ในร่างกายได้
บรรยาย
รศ. ดร.พรลดา นุชน้อย
21/02/2024 11:00:00 - 21/02/2024 12:00:00 1 ชม. 0 นาที
  • Blood group immunology
  • 6) อธิบายพื้นฐานภูมิคุ้มกันโลหิตวิทยา (Immune hematology) เกี่ยวกับแอนติเจนแอนติบอดีของเม็ดเลือดแดง การถ่ายทอดทางพันธุกรรม การสร้างแอนติเจน การสร้างภูมิคุ้มกัน กลไกการเกิดพยาธิสภาพจากปฏิกิริยาแอนติเจน แอนติบอดี (antigen anti-body reaction) ในร่างกายได้
บรรยาย
รศ. ดร.ดลินา ตันหยง
27/02/2024 09:00:00 - 27/02/2024 10:30:00 1 ชม. 30 นาที
  • Blood group serology: principle and procedures
  • 6) อธิบายพื้นฐานภูมิคุ้มกันโลหิตวิทยา (Immune hematology) เกี่ยวกับแอนติเจนแอนติบอดีของเม็ดเลือดแดง การถ่ายทอดทางพันธุกรรม การสร้างแอนติเจน การสร้างภูมิคุ้มกัน กลไกการเกิดพยาธิสภาพจากปฏิกิริยาแอนติเจน แอนติบอดี (antigen anti-body reaction) ในร่างกายได้
บรรยาย
ผศ. ดร.จิตรดา เพชรฟอง
27/02/2024 10:30:00 - 27/02/2024 12:00:00 1 ชม. 30 นาที
  • ABO Blood Group System
  • 7) บอกระบบหมู่เลือด (blood group system) ต่างๆ ที่สำคัญทางคลินิก การถ่ายทอดทางพันธุกรรม คุณสมบัติเฉพาะแต่ละระบบ และทำการทดสอบเพื่อตรวจหมู่เลือดที่สำคัญทางคลินิกด้วยเทคนิคทางภูมิคุ้มกันโลหิตวิทยา อ่านผลและแปลผลได้ถูกต้อง
บรรยาย
รศ. ดร.พรลดา นุชน้อย
06/03/2024 08:30:00 - 06/03/2024 12:00:00 3 ชม. 30 นาที
  • Lab 1: Basic techniques in Blood Bank & ABO grouping
  • 6) อธิบายพื้นฐานภูมิคุ้มกันโลหิตวิทยา (Immune hematology) เกี่ยวกับแอนติเจนแอนติบอดีของเม็ดเลือดแดง การถ่ายทอดทางพันธุกรรม การสร้างแอนติเจน การสร้างภูมิคุ้มกัน กลไกการเกิดพยาธิสภาพจากปฏิกิริยาแอนติเจน แอนติบอดี (antigen anti-body reaction) ในร่างกายได้
  • 7) บอกระบบหมู่เลือด (blood group system) ต่างๆ ที่สำคัญทางคลินิก การถ่ายทอดทางพันธุกรรม คุณสมบัติเฉพาะแต่ละระบบ และทำการทดสอบเพื่อตรวจหมู่เลือดที่สำคัญทางคลินิกด้วยเทคนิคทางภูมิคุ้มกันโลหิตวิทยา อ่านผลและแปลผลได้ถูกต้อง
ปฏิบัติการ
รศ. ดร.อังกูรา สุโภคเวช รศ. ดร.ดลินา ตันหยง ผศ. ดร.วิชนันท์ แย้มกมล ผศ. ดร.สุมนา ดาเก็ง อ. ดร.วศินี เขียนสอาด รศ. ดร.พรลดา นุชน้อย ผศ. ดร.จิตรดา เพชรฟอง อ. ดร.พจนารถ วานิจจะกูล ผศ. ดร.ชุติพงศ์ สุขคะนนท์ อ. ดร.เปี่ยมศิริ จิระอมรนิมิต
13/03/2024 09:00:00 - 13/03/2024 10:30:00 1 ชม. 30 นาที
  • Rh Blood Group System
  • 7) บอกระบบหมู่เลือด (blood group system) ต่างๆ ที่สำคัญทางคลินิก การถ่ายทอดทางพันธุกรรม คุณสมบัติเฉพาะแต่ละระบบ และทำการทดสอบเพื่อตรวจหมู่เลือดที่สำคัญทางคลินิกด้วยเทคนิคทางภูมิคุ้มกันโลหิตวิทยา อ่านผลและแปลผลได้ถูกต้อง
บรรยาย
รศ. ดร.อังกูรา สุโภคเวช
13/03/2024 10:30:00 - 13/03/2024 12:00:00 1 ชม. 30 นาที
  • Antiglobulin Test
  • 8) บอกหลักการ วิธีการ การประยุกต์ใช้และทำการทดสอบ antiglobulin test เพื่อหาปฏิกิริยาของแอนติบอดีชนิด IgG ที่จับอยู่บนเม็ดเลือดแดง (Direct antiglobulin test) และแอนติบอดีในซีรัม (Indirect antiglobulin test)
บรรยาย
ผศ. ดร.จิตรดา เพชรฟอง
20/03/2024 08:30:00 - 20/03/2024 12:00:00 3 ชม. 30 นาที
  • Lab 2: Rh(D) typing & antiglobulin test
  • 6) อธิบายพื้นฐานภูมิคุ้มกันโลหิตวิทยา (Immune hematology) เกี่ยวกับแอนติเจนแอนติบอดีของเม็ดเลือดแดง การถ่ายทอดทางพันธุกรรม การสร้างแอนติเจน การสร้างภูมิคุ้มกัน กลไกการเกิดพยาธิสภาพจากปฏิกิริยาแอนติเจน แอนติบอดี (antigen anti-body reaction) ในร่างกายได้
  • 7) บอกระบบหมู่เลือด (blood group system) ต่างๆ ที่สำคัญทางคลินิก การถ่ายทอดทางพันธุกรรม คุณสมบัติเฉพาะแต่ละระบบ และทำการทดสอบเพื่อตรวจหมู่เลือดที่สำคัญทางคลินิกด้วยเทคนิคทางภูมิคุ้มกันโลหิตวิทยา อ่านผลและแปลผลได้ถูกต้อง
  • 8) บอกหลักการ วิธีการ การประยุกต์ใช้และทำการทดสอบ antiglobulin test เพื่อหาปฏิกิริยาของแอนติบอดีชนิด IgG ที่จับอยู่บนเม็ดเลือดแดง (Direct antiglobulin test) และแอนติบอดีในซีรัม (Indirect antiglobulin test)
ปฏิบัติการ
รศ. ดร.อังกูรา สุโภคเวช รศ. ดร.ดลินา ตันหยง ผศ. ดร.วิชนันท์ แย้มกมล ผศ. ดร.สุมนา ดาเก็ง อ. ดร.วศินี เขียนสอาด รศ. ดร.พรลดา นุชน้อย ผศ. ดร.จิตรดา เพชรฟอง อ. ดร.พจนารถ วานิจจะกูล ผศ. ดร.ชุติพงศ์ สุขคะนนท์ อ. ดร.เปี่ยมศิริ จิระอมรนิมิต
03/04/2024 08:30:00 - 03/04/2024 10:00:00 1 ชม. 30 นาที
  • Other blood group
  • 7) บอกระบบหมู่เลือด (blood group system) ต่างๆ ที่สำคัญทางคลินิก การถ่ายทอดทางพันธุกรรม คุณสมบัติเฉพาะแต่ละระบบ และทำการทดสอบเพื่อตรวจหมู่เลือดที่สำคัญทางคลินิกด้วยเทคนิคทางภูมิคุ้มกันโลหิตวิทยา อ่านผลและแปลผลได้ถูกต้อง
บรรยาย
รศ. ดร.อังกูรา สุโภคเวช
03/04/2024 10:00:00 - 03/04/2024 12:00:00 2 ชม. 0 นาที
  • Lab 3: Antigen typing
  • 6) อธิบายพื้นฐานภูมิคุ้มกันโลหิตวิทยา (Immune hematology) เกี่ยวกับแอนติเจนแอนติบอดีของเม็ดเลือดแดง การถ่ายทอดทางพันธุกรรม การสร้างแอนติเจน การสร้างภูมิคุ้มกัน กลไกการเกิดพยาธิสภาพจากปฏิกิริยาแอนติเจน แอนติบอดี (antigen anti-body reaction) ในร่างกายได้
  • 7) บอกระบบหมู่เลือด (blood group system) ต่างๆ ที่สำคัญทางคลินิก การถ่ายทอดทางพันธุกรรม คุณสมบัติเฉพาะแต่ละระบบ และทำการทดสอบเพื่อตรวจหมู่เลือดที่สำคัญทางคลินิกด้วยเทคนิคทางภูมิคุ้มกันโลหิตวิทยา อ่านผลและแปลผลได้ถูกต้อง
  • 8) บอกหลักการ วิธีการ การประยุกต์ใช้และทำการทดสอบ antiglobulin test เพื่อหาปฏิกิริยาของแอนติบอดีชนิด IgG ที่จับอยู่บนเม็ดเลือดแดง (Direct antiglobulin test) และแอนติบอดีในซีรัม (Indirect antiglobulin test)
ปฏิบัติการ
รศ. ดร.อังกูรา สุโภคเวช รศ. ดร.ดลินา ตันหยง ผศ. ดร.วิชนันท์ แย้มกมล ผศ. ดร.สุมนา ดาเก็ง อ. ดร.วศินี เขียนสอาด รศ. ดร.พรลดา นุชน้อย ผศ. ดร.จิตรดา เพชรฟอง อ. ดร.พจนารถ วานิจจะกูล ผศ. ดร.ชุติพงศ์ สุขคะนนท์ อ. ดร.เปี่ยมศิริ จิระอมรนิมิต
10/04/2024 08:30:00 - 10/04/2024 10:00:00 1 ชม. 30 นาที
  • Blood group antibody detection: Antibody screening & antibody identification
  • 6) อธิบายพื้นฐานภูมิคุ้มกันโลหิตวิทยา (Immune hematology) เกี่ยวกับแอนติเจนแอนติบอดีของเม็ดเลือดแดง การถ่ายทอดทางพันธุกรรม การสร้างแอนติเจน การสร้างภูมิคุ้มกัน กลไกการเกิดพยาธิสภาพจากปฏิกิริยาแอนติเจน แอนติบอดี (antigen anti-body reaction) ในร่างกายได้
  • 8) บอกหลักการ วิธีการ การประยุกต์ใช้และทำการทดสอบ antiglobulin test เพื่อหาปฏิกิริยาของแอนติบอดีชนิด IgG ที่จับอยู่บนเม็ดเลือดแดง (Direct antiglobulin test) และแอนติบอดีในซีรัม (Indirect antiglobulin test)
บรรยาย
รศ. ดร.ดลินา ตันหยง
10/04/2024 10:00:00 - 10/04/2024 12:00:00 2 ชม. 0 นาที
  • Lab 4: Antibody screening
  • 6) อธิบายพื้นฐานภูมิคุ้มกันโลหิตวิทยา (Immune hematology) เกี่ยวกับแอนติเจนแอนติบอดีของเม็ดเลือดแดง การถ่ายทอดทางพันธุกรรม การสร้างแอนติเจน การสร้างภูมิคุ้มกัน กลไกการเกิดพยาธิสภาพจากปฏิกิริยาแอนติเจน แอนติบอดี (antigen anti-body reaction) ในร่างกายได้
  • 8) บอกหลักการ วิธีการ การประยุกต์ใช้และทำการทดสอบ antiglobulin test เพื่อหาปฏิกิริยาของแอนติบอดีชนิด IgG ที่จับอยู่บนเม็ดเลือดแดง (Direct antiglobulin test) และแอนติบอดีในซีรัม (Indirect antiglobulin test)
ปฏิบัติการ
รศ. ดร.อังกูรา สุโภคเวช รศ. ดร.ดลินา ตันหยง ผศ. ดร.วิชนันท์ แย้มกมล ผศ. ดร.สุมนา ดาเก็ง อ. ดร.วศินี เขียนสอาด รศ. ดร.พรลดา นุชน้อย ผศ. ดร.จิตรดา เพชรฟอง อ. ดร.พจนารถ วานิจจะกูล ผศ. ดร.ชุติพงศ์ สุขคะนนท์ อ. ดร.เปี่ยมศิริ จิระอมรนิมิต
17/04/2024 08:30:00 - 17/04/2024 09:00:00 0 ชม. 30 นาที
  • Quiz : Reaction grading, ABO, Rh phenotyping, antiglobulin test
  • 6) อธิบายพื้นฐานภูมิคุ้มกันโลหิตวิทยา (Immune hematology) เกี่ยวกับแอนติเจนแอนติบอดีของเม็ดเลือดแดง การถ่ายทอดทางพันธุกรรม การสร้างแอนติเจน การสร้างภูมิคุ้มกัน กลไกการเกิดพยาธิสภาพจากปฏิกิริยาแอนติเจน แอนติบอดี (antigen anti-body reaction) ในร่างกายได้
  • 7) บอกระบบหมู่เลือด (blood group system) ต่างๆ ที่สำคัญทางคลินิก การถ่ายทอดทางพันธุกรรม คุณสมบัติเฉพาะแต่ละระบบ และทำการทดสอบเพื่อตรวจหมู่เลือดที่สำคัญทางคลินิกด้วยเทคนิคทางภูมิคุ้มกันโลหิตวิทยา อ่านผลและแปลผลได้ถูกต้อง
  • 8) บอกหลักการ วิธีการ การประยุกต์ใช้และทำการทดสอบ antiglobulin test เพื่อหาปฏิกิริยาของแอนติบอดีชนิด IgG ที่จับอยู่บนเม็ดเลือดแดง (Direct antiglobulin test) และแอนติบอดีในซีรัม (Indirect antiglobulin test)
สอบ
ผศ. ดร.จิตรดา เพชรฟอง ผศ. ดร.ชุติพงศ์ สุขคะนนท์
17/04/2024 09:00:00 - 17/04/2024 12:00:00 3 ชม. 0 นาที
  • Lab 5: Antibody screening & Antibody identification
  • 6) อธิบายพื้นฐานภูมิคุ้มกันโลหิตวิทยา (Immune hematology) เกี่ยวกับแอนติเจนแอนติบอดีของเม็ดเลือดแดง การถ่ายทอดทางพันธุกรรม การสร้างแอนติเจน การสร้างภูมิคุ้มกัน กลไกการเกิดพยาธิสภาพจากปฏิกิริยาแอนติเจน แอนติบอดี (antigen anti-body reaction) ในร่างกายได้
  • 8) บอกหลักการ วิธีการ การประยุกต์ใช้และทำการทดสอบ antiglobulin test เพื่อหาปฏิกิริยาของแอนติบอดีชนิด IgG ที่จับอยู่บนเม็ดเลือดแดง (Direct antiglobulin test) และแอนติบอดีในซีรัม (Indirect antiglobulin test)
ปฏิบัติการ
รศ. ดร.อังกูรา สุโภคเวช รศ. ดร.ดลินา ตันหยง ผศ. ดร.วิชนันท์ แย้มกมล ผศ. ดร.สุมนา ดาเก็ง อ. ดร.วศินี เขียนสอาด รศ. ดร.พรลดา นุชน้อย ผศ. ดร.จิตรดา เพชรฟอง อ. ดร.พจนารถ วานิจจะกูล ผศ. ดร.ชุติพงศ์ สุขคะนนท์ อ. ดร.เปี่ยมศิริ จิระอมรนิมิต
24/04/2024 09:00:00 - 24/04/2024 10:00:00 1 ชม. 0 นาที
  • Enzyme, LISS, albumin, PEG, The 5 screen cells
  • 9) บอกหลักการ วิธีการใช้ LISS, enzyme และเทคนิคอื่นๆ เพื่อตรวจหาปฏิกิริยาแอนติเจน-แอนติบอดีของระบบหมู่เลือดได้
บรรยาย
รศ. ดร.ดลินา ตันหยง
24/04/2024 10:00:00 - 24/04/2024 12:00:00 2 ชม. 0 นาที
  • Case study: Antibody Screening & identification
  • 9) บอกหลักการ วิธีการใช้ LISS, enzyme และเทคนิคอื่นๆ เพื่อตรวจหาปฏิกิริยาแอนติเจน-แอนติบอดีของระบบหมู่เลือดได้
  • 6) อธิบายพื้นฐานภูมิคุ้มกันโลหิตวิทยา (Immune hematology) เกี่ยวกับแอนติเจนแอนติบอดีของเม็ดเลือดแดง การถ่ายทอดทางพันธุกรรม การสร้างแอนติเจน การสร้างภูมิคุ้มกัน กลไกการเกิดพยาธิสภาพจากปฏิกิริยาแอนติเจน แอนติบอดี (antigen anti-body reaction) ในร่างกายได้
  • 7) บอกระบบหมู่เลือด (blood group system) ต่างๆ ที่สำคัญทางคลินิก การถ่ายทอดทางพันธุกรรม คุณสมบัติเฉพาะแต่ละระบบ และทำการทดสอบเพื่อตรวจหมู่เลือดที่สำคัญทางคลินิกด้วยเทคนิคทางภูมิคุ้มกันโลหิตวิทยา อ่านผลและแปลผลได้ถูกต้อง
  • 8) บอกหลักการ วิธีการ การประยุกต์ใช้และทำการทดสอบ antiglobulin test เพื่อหาปฏิกิริยาของแอนติบอดีชนิด IgG ที่จับอยู่บนเม็ดเลือดแดง (Direct antiglobulin test) และแอนติบอดีในซีรัม (Indirect antiglobulin test)
ปฏิบัติการ
ผศ. ดร.จิตรดา เพชรฟอง ผศ. ดร.ชุติพงศ์ สุขคะนนท์
01/05/2024 08:30:00 - 01/05/2024 10:00:00 1 ชม. 30 นาที
  • Compatibility test
  • 10) บอกหลักการ วิธีการ และทำการทดสอบเพื่อเลือกเลือดและส่วนประกอบของเลือดที่ปลอดภัยให้ผู้ป่วยได้ (compatibility test) รวมทั้งบอกข้อจำกัด ข้อควรระวังได้
บรรยาย
อ. ดร.วศินี เขียนสอาด
01/05/2024 10:00:00 - 01/05/2024 12:00:00 2 ชม. 0 นาที
  • Lab 6: Compatibility test 1
  • 10) บอกหลักการ วิธีการ และทำการทดสอบเพื่อเลือกเลือดและส่วนประกอบของเลือดที่ปลอดภัยให้ผู้ป่วยได้ (compatibility test) รวมทั้งบอกข้อจำกัด ข้อควรระวังได้
  • 11) แสดงออกถึงการมีคุณธรรมและจริยธรรมในการประกอบอาชีพและมีเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพ แสดงออกถึงความรับผิดชอบในการเรียน งานที่ได้รับมอบหมาย มีวินัย ตรงต่อเวลา และความซื่อสัตย์
ปฏิบัติการ
รศ. ดร.อังกูรา สุโภคเวช รศ. ดร.ดลินา ตันหยง ผศ. ดร.วิชนันท์ แย้มกมล ผศ. ดร.สุมนา ดาเก็ง อ. ดร.วศินี เขียนสอาด รศ. ดร.พรลดา นุชน้อย ผศ. ดร.จิตรดา เพชรฟอง อ. ดร.พจนารถ วานิจจะกูล ผศ. ดร.ชุติพงศ์ สุขคะนนท์ อ. ดร.เปี่ยมศิริ จิระอมรนิมิต
08/05/2024 08:30:00 - 08/05/2024 09:30:00 1 ชม. 0 นาที
  • Column agglutination test & Alternative technology
  • 10) บอกหลักการ วิธีการ และทำการทดสอบเพื่อเลือกเลือดและส่วนประกอบของเลือดที่ปลอดภัยให้ผู้ป่วยได้ (compatibility test) รวมทั้งบอกข้อจำกัด ข้อควรระวังได้
บรรยาย
อ. ดร.พจนารถ วานิจจะกูล
08/05/2024 09:30:00 - 08/05/2024 12:00:00 2 ชม. 30 นาที
  • Lab 7: Compatibility test 2
  • 10) บอกหลักการ วิธีการ และทำการทดสอบเพื่อเลือกเลือดและส่วนประกอบของเลือดที่ปลอดภัยให้ผู้ป่วยได้ (compatibility test) รวมทั้งบอกข้อจำกัด ข้อควรระวังได้
  • 11) แสดงออกถึงการมีคุณธรรมและจริยธรรมในการประกอบอาชีพและมีเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพ แสดงออกถึงความรับผิดชอบในการเรียน งานที่ได้รับมอบหมาย มีวินัย ตรงต่อเวลา และความซื่อสัตย์
ปฏิบัติการ
รศ. ดร.อังกูรา สุโภคเวช รศ. ดร.ดลินา ตันหยง ผศ. ดร.วิชนันท์ แย้มกมล ผศ. ดร.สุมนา ดาเก็ง อ. ดร.วศินี เขียนสอาด รศ. ดร.พรลดา นุชน้อย ผศ. ดร.จิตรดา เพชรฟอง อ. ดร.พจนารถ วานิจจะกูล ผศ. ดร.ชุติพงศ์ สุขคะนนท์ อ. ดร.เปี่ยมศิริ จิระอมรนิมิต
15/05/2024 08:30:00 - 15/05/2024 10:00:00 1 ชม. 30 นาที
  • สอบข้อเขียนภาคทฤษฎีและปฏิบัติ
  • 9) บอกหลักการ วิธีการใช้ LISS, enzyme และเทคนิคอื่นๆ เพื่อตรวจหาปฏิกิริยาแอนติเจน-แอนติบอดีของระบบหมู่เลือดได้
  • 10) บอกหลักการ วิธีการ และทำการทดสอบเพื่อเลือกเลือดและส่วนประกอบของเลือดที่ปลอดภัยให้ผู้ป่วยได้ (compatibility test) รวมทั้งบอกข้อจำกัด ข้อควรระวังได้
  • 6) อธิบายพื้นฐานภูมิคุ้มกันโลหิตวิทยา (Immune hematology) เกี่ยวกับแอนติเจนแอนติบอดีของเม็ดเลือดแดง การถ่ายทอดทางพันธุกรรม การสร้างแอนติเจน การสร้างภูมิคุ้มกัน กลไกการเกิดพยาธิสภาพจากปฏิกิริยาแอนติเจน แอนติบอดี (antigen anti-body reaction) ในร่างกายได้
  • 7) บอกระบบหมู่เลือด (blood group system) ต่างๆ ที่สำคัญทางคลินิก การถ่ายทอดทางพันธุกรรม คุณสมบัติเฉพาะแต่ละระบบ และทำการทดสอบเพื่อตรวจหมู่เลือดที่สำคัญทางคลินิกด้วยเทคนิคทางภูมิคุ้มกันโลหิตวิทยา อ่านผลและแปลผลได้ถูกต้อง
  • 8) บอกหลักการ วิธีการ การประยุกต์ใช้และทำการทดสอบ antiglobulin test เพื่อหาปฏิกิริยาของแอนติบอดีชนิด IgG ที่จับอยู่บนเม็ดเลือดแดง (Direct antiglobulin test) และแอนติบอดีในซีรัม (Indirect antiglobulin test)
สอบ
ผศ. ดร.จิตรดา เพชรฟอง ผศ. ดร.ชุติพงศ์ สุขคะนนท์ อ. ดร.เปี่ยมศิริ จิระอมรนิมิต
15/05/2024 10:30:00 - 15/05/2024 12:30:00 2 ชม. 0 นาที
  • สอบภาคปฏิบัติ
  • 9) บอกหลักการ วิธีการใช้ LISS, enzyme และเทคนิคอื่นๆ เพื่อตรวจหาปฏิกิริยาแอนติเจน-แอนติบอดีของระบบหมู่เลือดได้
  • 10) บอกหลักการ วิธีการ และทำการทดสอบเพื่อเลือกเลือดและส่วนประกอบของเลือดที่ปลอดภัยให้ผู้ป่วยได้ (compatibility test) รวมทั้งบอกข้อจำกัด ข้อควรระวังได้
  • 6) อธิบายพื้นฐานภูมิคุ้มกันโลหิตวิทยา (Immune hematology) เกี่ยวกับแอนติเจนแอนติบอดีของเม็ดเลือดแดง การถ่ายทอดทางพันธุกรรม การสร้างแอนติเจน การสร้างภูมิคุ้มกัน กลไกการเกิดพยาธิสภาพจากปฏิกิริยาแอนติเจน แอนติบอดี (antigen anti-body reaction) ในร่างกายได้
  • 7) บอกระบบหมู่เลือด (blood group system) ต่างๆ ที่สำคัญทางคลินิก การถ่ายทอดทางพันธุกรรม คุณสมบัติเฉพาะแต่ละระบบ และทำการทดสอบเพื่อตรวจหมู่เลือดที่สำคัญทางคลินิกด้วยเทคนิคทางภูมิคุ้มกันโลหิตวิทยา อ่านผลและแปลผลได้ถูกต้อง
  • 8) บอกหลักการ วิธีการ การประยุกต์ใช้และทำการทดสอบ antiglobulin test เพื่อหาปฏิกิริยาของแอนติบอดีชนิด IgG ที่จับอยู่บนเม็ดเลือดแดง (Direct antiglobulin test) และแอนติบอดีในซีรัม (Indirect antiglobulin test)
สอบ
รศ. ดร.อังกูรา สุโภคเวช รศ. ดร.ดลินา ตันหยง ผศ. ดร.วิชนันท์ แย้มกมล ผศ. ดร.สุมนา ดาเก็ง อ. ดร.วศินี เขียนสอาด รศ. ดร.พรลดา นุชน้อย ผศ. ดร.จิตรดา เพชรฟอง อ. ดร.พจนารถ วานิจจะกูล ผศ. ดร.ชุติพงศ์ สุขคะนนท์ อ. ดร.เปี่ยมศิริ จิระอมรนิมิต

การเรียนการสอนนอกห้องเรียน

วันที่ เวลา หัวข้อ ประเภท รูปแบบ จำนวนชั่วโมง/คน ผู้รับผิดชอบ

หมวด 5 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

Required Materials
ลำดับ รายละเอียด
1 หนังสือปฏิบัติการธนาคารเลือด ภาควิชาจุลทรรศนศาสตร์คลินิก คณะเทคนิคการแพทย์ ม.มหิดล
2 เอกสารคำสอนประกอบการบรรยาย
3 Flint SJ, Enquist LW, Racaniello VR, Skalka AM. Principles of virology. 2nd ed. ASM Press; 2004.
4 Wagner EK, Hewlett MJ, Bloom DC, Camerini D. Basic Virology. 3rd ed. Wiley-Blackwell; 2007.
5 Brooks GF, Carroll KC, Butel JS, Morse S. Jawetz, Melnick & Adelberg’s Medical Microbiology. 26th ed. McGraw-Hill; 2007
6 Shors T. Understanding viruses. Sudbury (MA): Jones and Bartlett Publishers; 2009.
7 พิไลพันธ์ พุธวัฒนะ, บรรณาธิการ. ไวรัสวิทยา. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์อักษรสมัย; 2559
8 พิไลพันธ์ พุธวัฒนะ, บรรณาธิการ. ไวรัสวิทยา. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์อักษรสมัย; 2540
9 ภาวพันธ์ ภัทรโกศล, บรรณาธิการ. หลักไวรัสวิทยาทางการแพทย์. กรุงเทพ: คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2550.
Suggested Materials
ลำดับ รายละเอียด
1 มาตรฐานธนาคารเลือดและงานบริการโลหิต Standards for Blood Banks and Transfusion Services ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 4 พ.ศ. 2558 ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย
2 Harmening DM. Modern Blood Banking and Transfusion Practices. 5th- 7th edition. Philadelphia, F”A” Davis company. 2005
3 Blaney KD, Howard PR. Basic & Applied Concepts of Immunohematology 2nd edition. Mosby ELSEVIER 2009.
4 AABB Technical Manual 14th - 21st edition. American Association of Blood Banks, Maryland, USA
5 CD: Technical Manual 12th – 16th edition. AABB Advancing transfusion and Cellular therapies worldwide.
Other Resources
ลำดับ รายละเอียด
1 www.blooddonationthai.com ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย (National Blood Centre Thai Red Cross Society)
2 วารสาร เช่น วารสารโลหิตวิทยาและเวชศาสตร์การธนาคารโลหิต, Transfusion