ประมวลผลรายวิชา มม.3

หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ทนจค ๒๐๒
MTMI202
จุลชีววิทยาพื้นฐาน
Basic Microbiology
ปี 2
2 หน่วย (บรรยาย 1, ปฏิบัติ 1)
1 / 2567
97 คน show
ผศ. ดร.สิริรัตน์ ลูกอินทร์
หมวดที่ 2 เป้าหมายและคำอธิบายรายวิชา
เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีความรู้และทักษะปฏิบัติทางจุลชีววิทยาพื้นฐานที่สอดคล้องกับสมรรถนะวิชาชีพเทคนิคการแพทย์ ได้ตามมาตรฐานความรู้ ความสามารถ และจรรยาบรรณวิชาชีพ ของสภาเทคนิคการแพทย์
การจัดหมวดหมู่และการจำแนกจุลชีพ นิยามศัพท์คำจำกัดความ คุณสมบัติทางชีววิทยาของจุลชีพ รูปร่าง และโครงสร้างส่วนประกอบ การเจริญเติบโตและเมตาบอลิสม คุณประโยชน์ของจุลชีพ การก่อโรค กลไกการตอบสนองของร่างกายต่อเชื้อจุลชีพ ความรู้พื้นฐานในการกำจัดจุลชีพ ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับ จุลชีพก่อโรค ความรู้และทักษะพื้นฐานในห้องปฏิบัติการทางจุลชีววิทยา
Classification, term and definition, biological characteristics; morphology and structure, growth, metabo-lism, beneficial role of microorganism in nature, role of microorganism in diseases, host-microbe interac-tion, disinfection, laboratory safety, principle and basic skill in microbiology laboratory
หมวดที่ 3 แผนการดำเนินการและการประเมินผลที่สอดคล้องกับผลลัพธ์การเรียนรู้
วัตถุประสงค์รายวิชา
จัดประสบการณ์การเรียนรู้เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีความรู้และทักษะขั้นพื้นฐาน ที่สอดคล้องกับสมรรถนะวิชาชีพเทคนิคการแพทย์ และเกณฑ์มาตรฐานความรู้ความสามารถสาขาจุลชีววิทยา ดังนี้ ๑. มีความรู้พื้นฐานในการกำจัดจุลชีพและความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน ๒. สามารถอธิบายความแตกต่างของจุลชีพ 4 ชนิด (แบคทีเรีย เชื้อรา ปรสิต และไวรัส) ทั้งในเรื่องของรูปร่าง ลักษณะ โครงสร้าง ๓. สามารถจำแนกและวินิจฉัยเชื้อจุลชีพ และสามารถแก้ไขปัญหาเบื้องต้นเกี่ยวกับวิธี พื้นฐานทางจุลชีววิทยาที่ใช้ในการวินิจฉัยจุลชีพ ๔. สามารถปฏิบัติเทคนิคพื้นฐานทางจุลชีววิทยาได้อย่างถูกต้องตามมาตรฐานและปลอดภัย ได้แก่ การใช้กล้องจุลทรรศน์, การย้อมสีแกรม, การเพาะแยกเชื้อ การทดสอบทางชีวเคมี, การวินิจฉัยเชื้อ, เทคนิคการทำการเจือจาง และ การใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล (Personnel Protective Equipment, PPE) ๕. สามารถอธิบายการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันที่เกิดขึ้นต่อเชื้อจุลชีพในร่างกาย ๖. สามารถอธิบายคุณลักษณะของปฏิกิริยาแอนติเจน-แอนติบอดี้ และการนำไปใช้ประโยชน์ ๗. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับวิชาจุลชีววิทยาพื้นฐานและมีการเรียนรู้ด้วยตนเอง อย่างต่อเนื่อง ๘. มีวินัย ตรงต่อเวลา มีคุณธรรม และจริยธรรม
ความสอดคล้องกับรายวิชาและหลักสูตร
PLO Sub PLO
PLO1 มีความรู้และทักษะปฏิบัติในวิชาชีพเทคนิคการแพทย์ได้ตามมาตรฐานและจรรยาบรรณวิชาชีพ
PLO2 ประยุกต์ความรู้ทางการบริหารจัดการห้องปฏิบัติการเทคนิคการแพทย์
PLO3 จัดการและวิเคราะห์ข้อมูลทางห้องปฏิบัติการและสุขภาพชุมชนโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
PLO4 สื่อสารข้อมูลทางวิชาชีพเทคนิคการแพทย์แก่บุคลากรทางการแพทย์ ผู้รับบริการทางการแพทย์ผู้ร่ว มงาน และประชาชนได้อย่างเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย
PLO5 ทํางานเป็นทีมกับผู้ร่วมงานรวมถึงสหวิชาชีพตามบทบาทที่เหมาะสม
PLO6 ผลิตผลงานวิชาการทางเทคนิคการแพทย์หรือวิทยาศาสตร์สุขภาพโดยปฏิบัติตามจริยธรรมการวิจัย
ผลลัพธ์การเรียนรู้ของรายวิชาและการประเมินผล (Course Learning Outcomes and Assessment)

การประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ (Formative Assessment)

ลำดับ ระยะเวลา รายละเอียด เครื่องมือ การป้อนกลับให้ผู้เรียน
1 06/08/2024 15:00:00 - 18/12/2024 00:00:00 มีการประเมินและการสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของนักศึกษา จากการจัดภาคปฏิบัติและจากการจัดกิจกรรม เพื่อให้นักศึกษาปฏิบัติงาน นำเสนอ และ อภิปรายกลุ่มโดยมีอาจารย์ประจำกลุ่มเป็นผู้ประเมินนักศึกษาในประเด็นต่าง ๆ เช่น ความถูกต้องของกระบวนการปฏิบัติงานของนักศึกษา ความถูกต้องของข้อมูลที่อภิปราย การคิดวิเคราะห์ การเชื่อมโยงความรู้เพื่ออภิปราย และ การแสวงหาความรู้ อาจารย์ประจำกลุ่มเป็นผู้ประเมินนักศึกษาจากการสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของนักศึกษา ข้อมูลป้อนกลับแก่นักศึกษารายบุคคลในคาบเรียน

การประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียนรู้ (Summative Assessment)

ลำดับ ผลลัพธ์การเรียนรู้และแผนการดำเนินการ

ประกอบด้วย action verb + learning content + criteria/standard

PLOs สัดส่วนคะแนน
CLO1

อธิบายความรู้พื้นฐานในการกำจัดจุลชีพและความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
บรรยาย

สอบข้อเขียน 6.00%
ปฏิบัติการ

สอบปฏิบัติการ 1.00%
0 7%
CLO2

อธิบายความแตกต่างของจุลชีพ 4 ชนิด (แบคทีเรีย เชื้อรา ปรสิต และไวรัส) ทั้งในเรื่องของรูปร่าง ลักษณะ โครงสร้าง

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
บรรยาย

สอบข้อเขียน 15.00%
ปฏิบัติการ

สอบปฏิบัติการ 6.00%
กิจกรรมกลุ่ม

ประเมินจากชิ้นงาน/กิจกรรม 1.00%
0 22%
CLO3

คิดวิเคราะห์เกี่ยวกับการจำแนกและวินิจฉัยเชื้อจุลชีพ และสามารถแก้ไขปัญหาเบื้องต้นเกี่ยวกับวิธี พื้นฐานทางจุลชีววิทยาที่ใช้ในการวินิจฉัยจุลชีพ

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
บรรยาย

สอบข้อเขียน 22.00%
ปฏิบัติการ

สอบปฏิบัติการ 3.00%
0 25%
CLO4

สามารถปฏิบัติเทคนิคพื้นฐานทางจุลชีววิทยาได้อย่างถูกต้องตามมาตรฐานและปลอดภัย ได้แก่ การใช้กล้องจุลทรรศน์, การย้อมสีแกรม, การเพาะแยกเชื้อ การทดสอบทางชีวเคมี, การวินิจฉัยเชื้อ, เทคนิคการทำการเจือจาง และ การใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล (Personnel Protective Equipment, PPE)

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
ปฏิบัติการ

สอบปฏิบัติการ 25.00%
0 25%
CLO5

อธิบายการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันที่เกิดขึ้นต่อเชื้อจุลชีพในร่างกาย

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
บรรยาย

สอบข้อเขียน 9.00%
0 9%
CLO6

อธิบายคุณลักษณะของปฏิกิริยาแอนติเจน-แอนติบอดี้ และการนำไปใช้ประโยชน์

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
บรรยาย

สอบข้อเขียน 7.00%
0 7%
CLO7

ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับวิชาจุลชีววิทยาพื้นฐานและมีการเรียนรู้ด้วยตนเอง อย่างต่อเนื่อง

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
บรรยาย

สอบข้อเขียน 1%
กิจกรรมกลุ่ม

ประเมินจากชิ้นงาน/กิจกรรม 1.50%
0 2.5%
CLO8

มีวินัย ตรงต่อเวลา มีคุณธรรม และจริยธรรม

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
กิจกรรมกลุ่ม

สังเกตการณ์ 2.50%
0 2.5%
100.0%
การให้เกรด
สัญลักษณ์ คำอธิบาย เกณฑ์
A >80.0
B+ 75.0-79.9
B 70.0-74.9
C+ 65.0-69.9
C 60.0-64.9
D+ 55.0-59.9
D 50.0-54.9
F <50.0

การอุทธรณ์ของนักศึกษา

ยื่นคำร้องเป็นลายลักษณ์อักษรผ่านช่องทางใดช่องทางหนึ่ง ดังต่อไปนี้ 1. อาจารย์ผู้ประสานงานรายวิชา ผศ.ดร. สิริรัตน์ ลูกอินทร์ ทางอีเมล์ sirirat.luk@mahidol.ac.th อ. ดร. ธนวัฒน์ พวดรักษา ทางอีเมล์ thanawat.phu@mahidol.ac.th อ. ดร. นฤทัย อรศิริสกุล ทางอีเมล์ naruthai.ons@mahidol.ac.th 2. ติดต่อผ่านหัวหน้าภาควิชาจุลชีววิทยาคลินิกและเทคโนโลยีประยุกต์ ผศ.ดร.รุ่งโรจน์ เชิดตระกูลเกียรติ ทางอีเมล rungrot.che@mahidol.ac.th 3. Line official งานการศึกษาคณะเทคนิคการแพทย์ ทั้งนี้ นักศึกษาต้องยื่นขออุทธรณ์ก่อนเปิดภาคการศึกษาถัดไป แต่หากการประกาศผลการศึกษาเป็นไปโดยล่าช้า (หลังเปิดภาคการศึกษาถัดไป) ให้ยื่นอุทธรณ์ได้ภายใน 15 วัน นับจากวันประกาศผล

การแก้ไขผลการเรียน หรือ การสอบแก้ตัว

รายวิชานี้ เปิดโอกาสให้นักศึกษาสอบแก้ตัวได้ในกรณีที่นักศึกษามีผลการประเมินต่ำกว่าเกณฑ์ในการสอบกลางภาค โดยสามารถสอบแก้ตัวได้ 1 ครั้งซึ่งคะแนนของการสอบแก้ตัวจะสูงสุดได้ไม่เกินกึ่งหนึ่ง และ คะแนนทั้งหมดจะถูกแปลผลเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด
หมวดที่ 4 แผนการสอน
ผู้สอน
ชื่อ สังกัด บทบาท ชั่วโมง
ผศ. ดร.ประสงค์ แคน้ำ ศูนย์พัฒนามาตรฐานและการประเมินผลิตภัณฑ์ ผู้สอน 11 ชม. 0 นาที
รศ. ดร.พัชนี ชูทอง ภาควิชาจุลชีววิทยาและเทคโนโลยีประยุกต์ ผู้สอน 14 ชม. 0 นาที
รศ. ดร.ชนิยา ลี้ปิยะสกุลชัย ภาควิชาจุลชีววิทยาและเทคโนโลยีประยุกต์ ผู้ร่วมรับผิดชอบ 13 ชม. 0 นาที
ผศ. ดร.สมหญิง โลหะรังสิกุล ภาควิชาจุลชีววิทยาและเทคโนโลยีประยุกต์ ผู้ร่วมรับผิดชอบ 40 ชม. 30 นาที
ผศ. ดร.สินีวัลยา วิชิต ภาควิชาจุลชีววิทยาและเทคโนโลยีประยุกต์ ผู้ร่วมรับผิดชอบ 20 ชม. 0 นาที
ผศ. ดร.เธียรรัตน์ ตั้งไชยคีรี ศูนย์วิจัยพัฒนานวัตกรรมและชีวการแพทย์สารสนเทศ ผู้ร่วมรับผิดชอบ 40 ชม. 30 นาที
ผศ. ดร.สกาวรัตน์ เลิศจุฑาพร ศูนย์วิจัยพัฒนานวัตกรรมและชีวการแพทย์สารสนเทศ ผู้สอน 11 ชม. 0 นาที
ผศ. ดร.ดลพร ริยะป่า ศูนย์วิจัยพัฒนานวัตกรรมและชีวการแพทย์สารสนเทศ ผู้สอน 11 ชม. 0 นาที
ผศ. ดร.วิชญาพร คำพรม ภาควิชาจุลชีววิทยาและเทคโนโลยีประยุกต์ ผู้ร่วมรับผิดชอบ 42 ชม. 30 นาที
รศ. ดร.กมลรัตน์ โพธิ์ปิ่น ศูนย์วิจัยพัฒนานวัตกรรมและชีวการแพทย์สารสนเทศ ผู้ร่วมรับผิดชอบ 30 ชม. 30 นาที
รศ. ดร.ธีรพล เปียฉ่ำ ภาควิชาจุลชีววิทยาและเทคโนโลยีประยุกต์ ผู้ร่วมรับผิดชอบ 30 ชม. 30 นาที
ผศ. ดร.รุ่งโรจน์ เชิดตระกูลเกียรติ ภาควิชาจุลชีววิทยาและเทคโนโลยีประยุกต์ ผู้ร่วมรับผิดชอบ 29 ชม. 30 นาที
รศ. ดร.วราวรรณ เอี่ยมพึ่งพร ภาควิชาจุลชีววิทยาและเทคโนโลยีประยุกต์ ผู้ร่วมรับผิดชอบ 31 ชม. 30 นาที
รศ. ดร.วิจิตร วงค์ล่ำซำ ภาควิชาจุลชีววิทยาและเทคโนโลยีประยุกต์ ผู้ร่วมรับผิดชอบ 29 ชม. 30 นาที
รศ. ดร.ศักดิ์ดา ใยน้อย ภาควิชาจุลชีววิทยาและเทคโนโลยีประยุกต์ ผู้ร่วมรับผิดชอบ 30 ชม. 30 นาที
ผศ. ดร.สิริรัตน์ ลูกอินทร์ ภาควิชาจุลชีววิทยาและเทคโนโลยีประยุกต์ ผู้รับผิดชอบ 32 ชม. 30 นาที
รศ. ดร.หทัยรัตน์ เลิศสำราญ ศูนย์วิจัยพัฒนานวัตกรรมและชีวการแพทย์สารสนเทศ ผู้ร่วมรับผิดชอบ 2 ชม. 0 นาที
ผศ. ดร.ชาฎิณี ทิพกรณ์ ศูนย์วิจัยพัฒนานวัตกรรมและชีวการแพทย์สารสนเทศ ผู้ร่วมรับผิดชอบ 29 ชม. 30 นาที
อ. ดร.นฤทัย อรศิริสกุล ศูนย์วิจัยพัฒนานวัตกรรมและชีวการแพทย์สารสนเทศ ผู้รับผิดชอบ 11 ชม. 0 นาที
อ. ดร.ปิยดา ณ นคร ศูนย์วิจัยพัฒนานวัตกรรมและชีวการแพทย์สารสนเทศ ผู้ร่วมรับผิดชอบ 29 ชม. 30 นาที
ผศ. ดร.ชวลิต จตุพีรพัฒน์ ศูนย์วิจัยพัฒนานวัตกรรมและชีวการแพทย์สารสนเทศ ผู้ร่วมรับผิดชอบ 30 ชม. 30 นาที
อ. ดร.ธนวัฒน์ พวดรักษา ภาควิชาจุลชีววิทยาและเทคโนโลยีประยุกต์ ผู้รับผิดชอบ 41 ชม. 30 นาที

การเรียนการสอนในห้องเรียน

วันที่ เวลา ห้อง หัวข้อ CLOs ประเภท ผู้สอน
06/08/2024 08:30:00 - 06/08/2024 09:30:00 1 ชม. 0 นาที
  • 301 ศาลายา
  • Course Orientation
บรรยาย
ผศ. ดร.สิริรัตน์ ลูกอินทร์
06/08/2024 09:30:00 - 06/08/2024 11:30:00 2 ชม. 0 นาที
  • 301 ศาลายา
  • Lect.1 Introduction to microbiology
  • 2) อธิบายความแตกต่างของจุลชีพ 4 ชนิด (แบคทีเรีย เชื้อรา ปรสิต และไวรัส) ทั้งในเรื่องของรูปร่าง ลักษณะ โครงสร้าง
บรรยาย
รศ. ดร.วราวรรณ เอี่ยมพึ่งพร
06/08/2024 10:30:00 - 06/08/2024 11:30:00 1 ชม. 0 นาที
  • 301 ศาลายา
  • Lect.2 Laboratory safety
  • 1) อธิบายความรู้พื้นฐานในการกำจัดจุลชีพและความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน
  • 4) สามารถปฏิบัติเทคนิคพื้นฐานทางจุลชีววิทยาได้อย่างถูกต้องตามมาตรฐานและปลอดภัย ได้แก่ การใช้กล้องจุลทรรศน์, การย้อมสีแกรม, การเพาะแยกเชื้อ การทดสอบทางชีวเคมี, การวินิจฉัยเชื้อ, เทคนิคการทำการเจือจาง และ การใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล (Personnel Protective Equipment, PPE)
บรรยาย
รศ. ดร.หทัยรัตน์ เลิศสำราญ
06/08/2024 11:30:00 - 06/08/2024 12:30:00 1 ชม. 0 นาที
  • Lab: Laboratory safety
  • 1) อธิบายความรู้พื้นฐานในการกำจัดจุลชีพและความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน
  • 4) สามารถปฏิบัติเทคนิคพื้นฐานทางจุลชีววิทยาได้อย่างถูกต้องตามมาตรฐานและปลอดภัย ได้แก่ การใช้กล้องจุลทรรศน์, การย้อมสีแกรม, การเพาะแยกเชื้อ การทดสอบทางชีวเคมี, การวินิจฉัยเชื้อ, เทคนิคการทำการเจือจาง และ การใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล (Personnel Protective Equipment, PPE)
ปฏิบัติการ
รศ. ดร.หทัยรัตน์ เลิศสำราญ
13/08/2024 08:30:00 - 13/08/2024 09:30:00 1 ชม. 0 นาที
  • 301 ศาลายา
  • Lect.3 Laboratory tools for studying microbes 1: Cultivation
  • 3) คิดวิเคราะห์เกี่ยวกับการจำแนกและวินิจฉัยเชื้อจุลชีพ และสามารถแก้ไขปัญหาเบื้องต้นเกี่ยวกับวิธี พื้นฐานทางจุลชีววิทยาที่ใช้ในการวินิจฉัยจุลชีพ
  • 4) สามารถปฏิบัติเทคนิคพื้นฐานทางจุลชีววิทยาได้อย่างถูกต้องตามมาตรฐานและปลอดภัย ได้แก่ การใช้กล้องจุลทรรศน์, การย้อมสีแกรม, การเพาะแยกเชื้อ การทดสอบทางชีวเคมี, การวินิจฉัยเชื้อ, เทคนิคการทำการเจือจาง และ การใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล (Personnel Protective Equipment, PPE)
บรรยาย
รศ. ดร.กมลรัตน์ โพธิ์ปิ่น
13/08/2024 09:30:00 - 13/08/2024 11:30:00 2 ชม. 0 นาที
  • 401 ศาลายา
  • 402 ศาลายา
  • Lab 1: Basic techniques in microbiology 1: aseptic/sterile techniques, streak plate method for bacterial isolation
  • 3) คิดวิเคราะห์เกี่ยวกับการจำแนกและวินิจฉัยเชื้อจุลชีพ และสามารถแก้ไขปัญหาเบื้องต้นเกี่ยวกับวิธี พื้นฐานทางจุลชีววิทยาที่ใช้ในการวินิจฉัยจุลชีพ
  • 4) สามารถปฏิบัติเทคนิคพื้นฐานทางจุลชีววิทยาได้อย่างถูกต้องตามมาตรฐานและปลอดภัย ได้แก่ การใช้กล้องจุลทรรศน์, การย้อมสีแกรม, การเพาะแยกเชื้อ การทดสอบทางชีวเคมี, การวินิจฉัยเชื้อ, เทคนิคการทำการเจือจาง และ การใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล (Personnel Protective Equipment, PPE)
  • 8) มีวินัย ตรงต่อเวลา มีคุณธรรม และจริยธรรม
ปฏิบัติการ
ผศ. ดร.สมหญิง โลหะรังสิกุล ผศ. ดร.เธียรรัตน์ ตั้งไชยคีรี ผศ. ดร.วิชญาพร คำพรม รศ. ดร.กมลรัตน์ โพธิ์ปิ่น รศ. ดร.ธีรพล เปียฉ่ำ ผศ. ดร.รุ่งโรจน์ เชิดตระกูลเกียรติ รศ. ดร.วราวรรณ เอี่ยมพึ่งพร รศ. ดร.วิจิตร วงค์ล่ำซำ รศ. ดร.ศักดิ์ดา ใยน้อย ผศ. ดร.สิริรัตน์ ลูกอินทร์ ผศ. ดร.ชาฎิณี ทิพกรณ์ อ. ดร.ปิยดา ณ นคร ผศ. ดร.ชวลิต จตุพีรพัฒน์ อ. ดร.ธนวัฒน์ พวดรักษา
13/08/2024 11:30:00 - 13/08/2024 12:30:00 1 ชม. 0 นาที
  • Lab 1: Basic techniques in microbiology 1: aseptic/sterile techniques, streak plate method for bacterial isolation
  • 3) คิดวิเคราะห์เกี่ยวกับการจำแนกและวินิจฉัยเชื้อจุลชีพ และสามารถแก้ไขปัญหาเบื้องต้นเกี่ยวกับวิธี พื้นฐานทางจุลชีววิทยาที่ใช้ในการวินิจฉัยจุลชีพ
  • 4) สามารถปฏิบัติเทคนิคพื้นฐานทางจุลชีววิทยาได้อย่างถูกต้องตามมาตรฐานและปลอดภัย ได้แก่ การใช้กล้องจุลทรรศน์, การย้อมสีแกรม, การเพาะแยกเชื้อ การทดสอบทางชีวเคมี, การวินิจฉัยเชื้อ, เทคนิคการทำการเจือจาง และ การใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล (Personnel Protective Equipment, PPE)
ปฏิบัติการ
ผศ. ดร.สมหญิง โลหะรังสิกุล ผศ. ดร.เธียรรัตน์ ตั้งไชยคีรี ผศ. ดร.วิชญาพร คำพรม รศ. ดร.กมลรัตน์ โพธิ์ปิ่น รศ. ดร.ธีรพล เปียฉ่ำ ผศ. ดร.รุ่งโรจน์ เชิดตระกูลเกียรติ รศ. ดร.วราวรรณ เอี่ยมพึ่งพร รศ. ดร.วิจิตร วงค์ล่ำซำ รศ. ดร.ศักดิ์ดา ใยน้อย ผศ. ดร.สิริรัตน์ ลูกอินทร์ ผศ. ดร.ชาฎิณี ทิพกรณ์ อ. ดร.ปิยดา ณ นคร ผศ. ดร.ชวลิต จตุพีรพัฒน์ อ. ดร.ธนวัฒน์ พวดรักษา
20/08/2024 08:30:00 - 20/08/2024 09:30:00 1 ชม. 0 นาที
  • 301 ศาลายา
  • Lect.4 Laboratory tools for studying microbes 2: Microscopic observation
  • 2) อธิบายความแตกต่างของจุลชีพ 4 ชนิด (แบคทีเรีย เชื้อรา ปรสิต และไวรัส) ทั้งในเรื่องของรูปร่าง ลักษณะ โครงสร้าง
  • 3) คิดวิเคราะห์เกี่ยวกับการจำแนกและวินิจฉัยเชื้อจุลชีพ และสามารถแก้ไขปัญหาเบื้องต้นเกี่ยวกับวิธี พื้นฐานทางจุลชีววิทยาที่ใช้ในการวินิจฉัยจุลชีพ
  • 4) สามารถปฏิบัติเทคนิคพื้นฐานทางจุลชีววิทยาได้อย่างถูกต้องตามมาตรฐานและปลอดภัย ได้แก่ การใช้กล้องจุลทรรศน์, การย้อมสีแกรม, การเพาะแยกเชื้อ การทดสอบทางชีวเคมี, การวินิจฉัยเชื้อ, เทคนิคการทำการเจือจาง และ การใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล (Personnel Protective Equipment, PPE)
บรรยาย
รศ. ดร.ศักดิ์ดา ใยน้อย
20/08/2024 09:30:00 - 20/08/2024 11:30:00 2 ชม. 0 นาที
  • 401 ศาลายา
  • 402 ศาลายา
  • Lab 2: Basic techniques in microbiology 2: wet preparation and Gram stain
  • 2) อธิบายความแตกต่างของจุลชีพ 4 ชนิด (แบคทีเรีย เชื้อรา ปรสิต และไวรัส) ทั้งในเรื่องของรูปร่าง ลักษณะ โครงสร้าง
  • 3) คิดวิเคราะห์เกี่ยวกับการจำแนกและวินิจฉัยเชื้อจุลชีพ และสามารถแก้ไขปัญหาเบื้องต้นเกี่ยวกับวิธี พื้นฐานทางจุลชีววิทยาที่ใช้ในการวินิจฉัยจุลชีพ
  • 4) สามารถปฏิบัติเทคนิคพื้นฐานทางจุลชีววิทยาได้อย่างถูกต้องตามมาตรฐานและปลอดภัย ได้แก่ การใช้กล้องจุลทรรศน์, การย้อมสีแกรม, การเพาะแยกเชื้อ การทดสอบทางชีวเคมี, การวินิจฉัยเชื้อ, เทคนิคการทำการเจือจาง และ การใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล (Personnel Protective Equipment, PPE)
  • 8) มีวินัย ตรงต่อเวลา มีคุณธรรม และจริยธรรม
ปฏิบัติการ
ผศ. ดร.สมหญิง โลหะรังสิกุล ผศ. ดร.เธียรรัตน์ ตั้งไชยคีรี ผศ. ดร.วิชญาพร คำพรม รศ. ดร.กมลรัตน์ โพธิ์ปิ่น รศ. ดร.ธีรพล เปียฉ่ำ ผศ. ดร.รุ่งโรจน์ เชิดตระกูลเกียรติ รศ. ดร.วราวรรณ เอี่ยมพึ่งพร รศ. ดร.วิจิตร วงค์ล่ำซำ รศ. ดร.ศักดิ์ดา ใยน้อย ผศ. ดร.สิริรัตน์ ลูกอินทร์ ผศ. ดร.ชาฎิณี ทิพกรณ์ อ. ดร.ปิยดา ณ นคร ผศ. ดร.ชวลิต จตุพีรพัฒน์ อ. ดร.ธนวัฒน์ พวดรักษา
20/08/2024 11:30:00 - 20/08/2024 12:30:00 1 ชม. 0 นาที
  • Lab 2: Basic techniques in microbiology 2: wet preparation and Gram stain
  • 2) อธิบายความแตกต่างของจุลชีพ 4 ชนิด (แบคทีเรีย เชื้อรา ปรสิต และไวรัส) ทั้งในเรื่องของรูปร่าง ลักษณะ โครงสร้าง
  • 3) คิดวิเคราะห์เกี่ยวกับการจำแนกและวินิจฉัยเชื้อจุลชีพ และสามารถแก้ไขปัญหาเบื้องต้นเกี่ยวกับวิธี พื้นฐานทางจุลชีววิทยาที่ใช้ในการวินิจฉัยจุลชีพ
  • 4) สามารถปฏิบัติเทคนิคพื้นฐานทางจุลชีววิทยาได้อย่างถูกต้องตามมาตรฐานและปลอดภัย ได้แก่ การใช้กล้องจุลทรรศน์, การย้อมสีแกรม, การเพาะแยกเชื้อ การทดสอบทางชีวเคมี, การวินิจฉัยเชื้อ, เทคนิคการทำการเจือจาง และ การใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล (Personnel Protective Equipment, PPE)
ปฏิบัติการ
ผศ. ดร.สมหญิง โลหะรังสิกุล ผศ. ดร.เธียรรัตน์ ตั้งไชยคีรี ผศ. ดร.วิชญาพร คำพรม รศ. ดร.กมลรัตน์ โพธิ์ปิ่น รศ. ดร.ธีรพล เปียฉ่ำ ผศ. ดร.รุ่งโรจน์ เชิดตระกูลเกียรติ รศ. ดร.วราวรรณ เอี่ยมพึ่งพร รศ. ดร.วิจิตร วงค์ล่ำซำ รศ. ดร.ศักดิ์ดา ใยน้อย ผศ. ดร.สิริรัตน์ ลูกอินทร์ ผศ. ดร.ชาฎิณี ทิพกรณ์ อ. ดร.ปิยดา ณ นคร ผศ. ดร.ชวลิต จตุพีรพัฒน์ อ. ดร.ธนวัฒน์ พวดรักษา
27/08/2024 08:30:00 - 27/08/2024 09:30:00 1 ชม. 0 นาที
  • 301 ศาลายา
  • Lect.5 Microbial structure & function
  • 2) อธิบายความแตกต่างของจุลชีพ 4 ชนิด (แบคทีเรีย เชื้อรา ปรสิต และไวรัส) ทั้งในเรื่องของรูปร่าง ลักษณะ โครงสร้าง
  • 3) คิดวิเคราะห์เกี่ยวกับการจำแนกและวินิจฉัยเชื้อจุลชีพ และสามารถแก้ไขปัญหาเบื้องต้นเกี่ยวกับวิธี พื้นฐานทางจุลชีววิทยาที่ใช้ในการวินิจฉัยจุลชีพ
  • 4) สามารถปฏิบัติเทคนิคพื้นฐานทางจุลชีววิทยาได้อย่างถูกต้องตามมาตรฐานและปลอดภัย ได้แก่ การใช้กล้องจุลทรรศน์, การย้อมสีแกรม, การเพาะแยกเชื้อ การทดสอบทางชีวเคมี, การวินิจฉัยเชื้อ, เทคนิคการทำการเจือจาง และ การใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล (Personnel Protective Equipment, PPE)
บรรยาย
ผศ. ดร.สินีวัลยา วิชิต
27/08/2024 09:30:00 - 27/08/2024 11:30:00 2 ชม. 0 นาที
  • 401 ศาลายา
  • 402 ศาลายา
  • Lab 3: Microbial morphology of bacteria, fungi, virus, and parasites (Macroscopic & Microscopic observation)
  • 2) อธิบายความแตกต่างของจุลชีพ 4 ชนิด (แบคทีเรีย เชื้อรา ปรสิต และไวรัส) ทั้งในเรื่องของรูปร่าง ลักษณะ โครงสร้าง
  • 3) คิดวิเคราะห์เกี่ยวกับการจำแนกและวินิจฉัยเชื้อจุลชีพ และสามารถแก้ไขปัญหาเบื้องต้นเกี่ยวกับวิธี พื้นฐานทางจุลชีววิทยาที่ใช้ในการวินิจฉัยจุลชีพ
  • 4) สามารถปฏิบัติเทคนิคพื้นฐานทางจุลชีววิทยาได้อย่างถูกต้องตามมาตรฐานและปลอดภัย ได้แก่ การใช้กล้องจุลทรรศน์, การย้อมสีแกรม, การเพาะแยกเชื้อ การทดสอบทางชีวเคมี, การวินิจฉัยเชื้อ, เทคนิคการทำการเจือจาง และ การใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล (Personnel Protective Equipment, PPE)
  • 8) มีวินัย ตรงต่อเวลา มีคุณธรรม และจริยธรรม
ปฏิบัติการ
ผศ. ดร.สมหญิง โลหะรังสิกุล ผศ. ดร.เธียรรัตน์ ตั้งไชยคีรี ผศ. ดร.วิชญาพร คำพรม รศ. ดร.กมลรัตน์ โพธิ์ปิ่น รศ. ดร.ธีรพล เปียฉ่ำ ผศ. ดร.รุ่งโรจน์ เชิดตระกูลเกียรติ รศ. ดร.วราวรรณ เอี่ยมพึ่งพร รศ. ดร.วิจิตร วงค์ล่ำซำ รศ. ดร.ศักดิ์ดา ใยน้อย ผศ. ดร.สิริรัตน์ ลูกอินทร์ ผศ. ดร.ชาฎิณี ทิพกรณ์ อ. ดร.ปิยดา ณ นคร ผศ. ดร.ชวลิต จตุพีรพัฒน์ อ. ดร.ธนวัฒน์ พวดรักษา
27/08/2024 11:30:00 - 27/08/2024 12:30:00 1 ชม. 0 นาที
  • Lab 3: Microbial morphology of bacteria, fungi, virus, and parasites (Macroscopic & Microscopic observation)
  • 2) อธิบายความแตกต่างของจุลชีพ 4 ชนิด (แบคทีเรีย เชื้อรา ปรสิต และไวรัส) ทั้งในเรื่องของรูปร่าง ลักษณะ โครงสร้าง
  • 3) คิดวิเคราะห์เกี่ยวกับการจำแนกและวินิจฉัยเชื้อจุลชีพ และสามารถแก้ไขปัญหาเบื้องต้นเกี่ยวกับวิธี พื้นฐานทางจุลชีววิทยาที่ใช้ในการวินิจฉัยจุลชีพ
  • 4) สามารถปฏิบัติเทคนิคพื้นฐานทางจุลชีววิทยาได้อย่างถูกต้องตามมาตรฐานและปลอดภัย ได้แก่ การใช้กล้องจุลทรรศน์, การย้อมสีแกรม, การเพาะแยกเชื้อ การทดสอบทางชีวเคมี, การวินิจฉัยเชื้อ, เทคนิคการทำการเจือจาง และ การใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล (Personnel Protective Equipment, PPE)
ปฏิบัติการ
ผศ. ดร.สมหญิง โลหะรังสิกุล ผศ. ดร.เธียรรัตน์ ตั้งไชยคีรี ผศ. ดร.วิชญาพร คำพรม รศ. ดร.กมลรัตน์ โพธิ์ปิ่น รศ. ดร.ธีรพล เปียฉ่ำ ผศ. ดร.รุ่งโรจน์ เชิดตระกูลเกียรติ รศ. ดร.วราวรรณ เอี่ยมพึ่งพร รศ. ดร.วิจิตร วงค์ล่ำซำ รศ. ดร.ศักดิ์ดา ใยน้อย ผศ. ดร.สิริรัตน์ ลูกอินทร์ ผศ. ดร.ชาฎิณี ทิพกรณ์ อ. ดร.ปิยดา ณ นคร ผศ. ดร.ชวลิต จตุพีรพัฒน์ อ. ดร.ธนวัฒน์ พวดรักษา
02/09/2024 16:30:00 - 02/09/2024 17:00:00 0 ชม. 30 นาที
  • 401 ศาลายา
  • 402 ศาลายา
  • Lab 4: Oxidase and catalase tests
  • 3) คิดวิเคราะห์เกี่ยวกับการจำแนกและวินิจฉัยเชื้อจุลชีพ และสามารถแก้ไขปัญหาเบื้องต้นเกี่ยวกับวิธี พื้นฐานทางจุลชีววิทยาที่ใช้ในการวินิจฉัยจุลชีพ
  • 4) สามารถปฏิบัติเทคนิคพื้นฐานทางจุลชีววิทยาได้อย่างถูกต้องตามมาตรฐานและปลอดภัย ได้แก่ การใช้กล้องจุลทรรศน์, การย้อมสีแกรม, การเพาะแยกเชื้อ การทดสอบทางชีวเคมี, การวินิจฉัยเชื้อ, เทคนิคการทำการเจือจาง และ การใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล (Personnel Protective Equipment, PPE)
  • 8) มีวินัย ตรงต่อเวลา มีคุณธรรม และจริยธรรม
ปฏิบัติการ
ผศ. ดร.สมหญิง โลหะรังสิกุล ผศ. ดร.เธียรรัตน์ ตั้งไชยคีรี ผศ. ดร.วิชญาพร คำพรม รศ. ดร.กมลรัตน์ โพธิ์ปิ่น รศ. ดร.ธีรพล เปียฉ่ำ ผศ. ดร.รุ่งโรจน์ เชิดตระกูลเกียรติ รศ. ดร.วราวรรณ เอี่ยมพึ่งพร รศ. ดร.วิจิตร วงค์ล่ำซำ รศ. ดร.ศักดิ์ดา ใยน้อย ผศ. ดร.สิริรัตน์ ลูกอินทร์ ผศ. ดร.ชาฎิณี ทิพกรณ์ อ. ดร.ปิยดา ณ นคร ผศ. ดร.ชวลิต จตุพีรพัฒน์ อ. ดร.ธนวัฒน์ พวดรักษา
03/09/2024 08:30:00 - 03/09/2024 09:30:00 1 ชม. 0 นาที
  • 301 ศาลายา
  • Lect.6 Microbial Metabolisms
  • 3) คิดวิเคราะห์เกี่ยวกับการจำแนกและวินิจฉัยเชื้อจุลชีพ และสามารถแก้ไขปัญหาเบื้องต้นเกี่ยวกับวิธี พื้นฐานทางจุลชีววิทยาที่ใช้ในการวินิจฉัยจุลชีพ
บรรยาย
รศ. ดร.ธีรพล เปียฉ่ำ
03/09/2024 09:30:00 - 03/09/2024 11:30:00 2 ชม. 0 นาที
  • 401 ศาลายา
  • 402 ศาลายา
  • Lab 4: Oxidase and catalase tests
  • 3) คิดวิเคราะห์เกี่ยวกับการจำแนกและวินิจฉัยเชื้อจุลชีพ และสามารถแก้ไขปัญหาเบื้องต้นเกี่ยวกับวิธี พื้นฐานทางจุลชีววิทยาที่ใช้ในการวินิจฉัยจุลชีพ
  • 4) สามารถปฏิบัติเทคนิคพื้นฐานทางจุลชีววิทยาได้อย่างถูกต้องตามมาตรฐานและปลอดภัย ได้แก่ การใช้กล้องจุลทรรศน์, การย้อมสีแกรม, การเพาะแยกเชื้อ การทดสอบทางชีวเคมี, การวินิจฉัยเชื้อ, เทคนิคการทำการเจือจาง และ การใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล (Personnel Protective Equipment, PPE)
  • 8) มีวินัย ตรงต่อเวลา มีคุณธรรม และจริยธรรม
ปฏิบัติการ
ผศ. ดร.สมหญิง โลหะรังสิกุล ผศ. ดร.เธียรรัตน์ ตั้งไชยคีรี ผศ. ดร.วิชญาพร คำพรม รศ. ดร.กมลรัตน์ โพธิ์ปิ่น รศ. ดร.ธีรพล เปียฉ่ำ ผศ. ดร.รุ่งโรจน์ เชิดตระกูลเกียรติ รศ. ดร.วราวรรณ เอี่ยมพึ่งพร รศ. ดร.วิจิตร วงค์ล่ำซำ รศ. ดร.ศักดิ์ดา ใยน้อย ผศ. ดร.สิริรัตน์ ลูกอินทร์ ผศ. ดร.ชาฎิณี ทิพกรณ์ อ. ดร.ปิยดา ณ นคร ผศ. ดร.ชวลิต จตุพีรพัฒน์ อ. ดร.ธนวัฒน์ พวดรักษา
03/09/2024 11:30:00 - 03/09/2024 12:30:00 1 ชม. 0 นาที
  • Lab 4: Oxidase and catalase tests
  • 3) คิดวิเคราะห์เกี่ยวกับการจำแนกและวินิจฉัยเชื้อจุลชีพ และสามารถแก้ไขปัญหาเบื้องต้นเกี่ยวกับวิธี พื้นฐานทางจุลชีววิทยาที่ใช้ในการวินิจฉัยจุลชีพ
  • 4) สามารถปฏิบัติเทคนิคพื้นฐานทางจุลชีววิทยาได้อย่างถูกต้องตามมาตรฐานและปลอดภัย ได้แก่ การใช้กล้องจุลทรรศน์, การย้อมสีแกรม, การเพาะแยกเชื้อ การทดสอบทางชีวเคมี, การวินิจฉัยเชื้อ, เทคนิคการทำการเจือจาง และ การใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล (Personnel Protective Equipment, PPE)
ปฏิบัติการ
ผศ. ดร.สมหญิง โลหะรังสิกุล ผศ. ดร.เธียรรัตน์ ตั้งไชยคีรี ผศ. ดร.วิชญาพร คำพรม รศ. ดร.กมลรัตน์ โพธิ์ปิ่น รศ. ดร.ธีรพล เปียฉ่ำ ผศ. ดร.รุ่งโรจน์ เชิดตระกูลเกียรติ รศ. ดร.วราวรรณ เอี่ยมพึ่งพร รศ. ดร.วิจิตร วงค์ล่ำซำ รศ. ดร.ศักดิ์ดา ใยน้อย ผศ. ดร.สิริรัตน์ ลูกอินทร์ ผศ. ดร.ชาฎิณี ทิพกรณ์ อ. ดร.ปิยดา ณ นคร ผศ. ดร.ชวลิต จตุพีรพัฒน์ อ. ดร.ธนวัฒน์ พวดรักษา
09/09/2024 13:00:00 - 09/09/2024 17:00:00 4 ชม. 0 นาที
  • 401 ศาลายา
  • 402 ศาลายา
  • ประเมินทักษะปฏิบัติการ 1 (Gram stain & microscopic examination, streak plate and oxidase & catalase tests)
สอบ
ผศ. ดร.สมหญิง โลหะรังสิกุล ผศ. ดร.สินีวัลยา วิชิต ผศ. ดร.เธียรรัตน์ ตั้งไชยคีรี ผศ. ดร.วิชญาพร คำพรม รศ. ดร.กมลรัตน์ โพธิ์ปิ่น รศ. ดร.ธีรพล เปียฉ่ำ ผศ. ดร.รุ่งโรจน์ เชิดตระกูลเกียรติ รศ. ดร.วราวรรณ เอี่ยมพึ่งพร รศ. ดร.วิจิตร วงค์ล่ำซำ รศ. ดร.ศักดิ์ดา ใยน้อย ผศ. ดร.สิริรัตน์ ลูกอินทร์ ผศ. ดร.ชาฎิณี ทิพกรณ์ อ. ดร.นฤทัย อรศิริสกุล อ. ดร.ปิยดา ณ นคร ผศ. ดร.ชวลิต จตุพีรพัฒน์ อ. ดร.ธนวัฒน์ พวดรักษา
16/09/2024 13:00:00 - 16/09/2024 14:00:00 1 ชม. 0 นาที
  • 301 ศาลายา
  • Lect.7 Microbial Growth
  • 3) คิดวิเคราะห์เกี่ยวกับการจำแนกและวินิจฉัยเชื้อจุลชีพ และสามารถแก้ไขปัญหาเบื้องต้นเกี่ยวกับวิธี พื้นฐานทางจุลชีววิทยาที่ใช้ในการวินิจฉัยจุลชีพ
  • 4) สามารถปฏิบัติเทคนิคพื้นฐานทางจุลชีววิทยาได้อย่างถูกต้องตามมาตรฐานและปลอดภัย ได้แก่ การใช้กล้องจุลทรรศน์, การย้อมสีแกรม, การเพาะแยกเชื้อ การทดสอบทางชีวเคมี, การวินิจฉัยเชื้อ, เทคนิคการทำการเจือจาง และ การใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล (Personnel Protective Equipment, PPE)
บรรยาย
ผศ. ดร.ชวลิต จตุพีรพัฒน์
16/09/2024 14:00:00 - 16/09/2024 15:00:00 1 ชม. 0 นาที
  • 301 ศาลายา
  • Lect.8 Microbial Control
  • 1) อธิบายความรู้พื้นฐานในการกำจัดจุลชีพและความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน
บรรยาย
อ. ดร.นฤทัย อรศิริสกุล
16/09/2024 15:00:00 - 16/09/2024 16:00:00 1 ชม. 0 นาที
  • 301 ศาลายา
  • Lect.9 Microbial genetic and Evolution
  • 2) อธิบายความแตกต่างของจุลชีพ 4 ชนิด (แบคทีเรีย เชื้อรา ปรสิต และไวรัส) ทั้งในเรื่องของรูปร่าง ลักษณะ โครงสร้าง
  • 3) คิดวิเคราะห์เกี่ยวกับการจำแนกและวินิจฉัยเชื้อจุลชีพ และสามารถแก้ไขปัญหาเบื้องต้นเกี่ยวกับวิธี พื้นฐานทางจุลชีววิทยาที่ใช้ในการวินิจฉัยจุลชีพ
บรรยาย
อ. ดร.ธนวัฒน์ พวดรักษา
24/09/2024 09:00:00 - 24/09/2024 12:00:00 3 ชม. 0 นาที
  • 401 ศาลายา
  • 402 ศาลายา
  • 306 ศาลายา (มีแผงกั้นห้อง 306)
  • สอบกลางภาค - สอบภาคทฤษฎี 1 - สอบภาคปฏิบัติ 1 (Spot test)
สอบ
ผศ. ดร.สมหญิง โลหะรังสิกุล ผศ. ดร.เธียรรัตน์ ตั้งไชยคีรี ผศ. ดร.วิชญาพร คำพรม รศ. ดร.กมลรัตน์ โพธิ์ปิ่น รศ. ดร.ธีรพล เปียฉ่ำ ผศ. ดร.รุ่งโรจน์ เชิดตระกูลเกียรติ รศ. ดร.วราวรรณ เอี่ยมพึ่งพร รศ. ดร.วิจิตร วงค์ล่ำซำ รศ. ดร.ศักดิ์ดา ใยน้อย ผศ. ดร.สิริรัตน์ ลูกอินทร์ ผศ. ดร.ชาฎิณี ทิพกรณ์ อ. ดร.นฤทัย อรศิริสกุล อ. ดร.ปิยดา ณ นคร ผศ. ดร.ชวลิต จตุพีรพัฒน์ อ. ดร.ธนวัฒน์ พวดรักษา
15/10/2024 08:30:00 - 15/10/2024 10:30:00 2 ชม. 0 นาที
  • 301 ศาลายา
  • Lect.10 Biochemical test 1
  • Lect.11 Biochemical test 2
  • 3) คิดวิเคราะห์เกี่ยวกับการจำแนกและวินิจฉัยเชื้อจุลชีพ และสามารถแก้ไขปัญหาเบื้องต้นเกี่ยวกับวิธี พื้นฐานทางจุลชีววิทยาที่ใช้ในการวินิจฉัยจุลชีพ
  • 4) สามารถปฏิบัติเทคนิคพื้นฐานทางจุลชีววิทยาได้อย่างถูกต้องตามมาตรฐานและปลอดภัย ได้แก่ การใช้กล้องจุลทรรศน์, การย้อมสีแกรม, การเพาะแยกเชื้อ การทดสอบทางชีวเคมี, การวินิจฉัยเชื้อ, เทคนิคการทำการเจือจาง และ การใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล (Personnel Protective Equipment, PPE)
บรรยาย
ผศ. ดร.สิริรัตน์ ลูกอินทร์
15/10/2024 10:30:00 - 15/10/2024 11:30:00 1 ชม. 0 นาที
  • 401 ศาลายา
  • 402 ศาลายา
  • Lab 5: Biochemical tests for bacterial identification 1: gram positive cocci
  • 3) คิดวิเคราะห์เกี่ยวกับการจำแนกและวินิจฉัยเชื้อจุลชีพ และสามารถแก้ไขปัญหาเบื้องต้นเกี่ยวกับวิธี พื้นฐานทางจุลชีววิทยาที่ใช้ในการวินิจฉัยจุลชีพ
  • 4) สามารถปฏิบัติเทคนิคพื้นฐานทางจุลชีววิทยาได้อย่างถูกต้องตามมาตรฐานและปลอดภัย ได้แก่ การใช้กล้องจุลทรรศน์, การย้อมสีแกรม, การเพาะแยกเชื้อ การทดสอบทางชีวเคมี, การวินิจฉัยเชื้อ, เทคนิคการทำการเจือจาง และ การใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล (Personnel Protective Equipment, PPE)
  • 8) มีวินัย ตรงต่อเวลา มีคุณธรรม และจริยธรรม
ปฏิบัติการ
ผศ. ดร.สมหญิง โลหะรังสิกุล ผศ. ดร.เธียรรัตน์ ตั้งไชยคีรี ผศ. ดร.วิชญาพร คำพรม รศ. ดร.กมลรัตน์ โพธิ์ปิ่น รศ. ดร.ธีรพล เปียฉ่ำ ผศ. ดร.รุ่งโรจน์ เชิดตระกูลเกียรติ รศ. ดร.วราวรรณ เอี่ยมพึ่งพร รศ. ดร.วิจิตร วงค์ล่ำซำ รศ. ดร.ศักดิ์ดา ใยน้อย ผศ. ดร.สิริรัตน์ ลูกอินทร์ ผศ. ดร.ชาฎิณี ทิพกรณ์ อ. ดร.ปิยดา ณ นคร ผศ. ดร.ชวลิต จตุพีรพัฒน์ อ. ดร.ธนวัฒน์ พวดรักษา
15/10/2024 11:30:00 - 15/10/2024 12:30:00 1 ชม. 0 นาที
  • Lab 5: Biochemical tests for bacterial identification 1: gram positive cocci
  • 3) คิดวิเคราะห์เกี่ยวกับการจำแนกและวินิจฉัยเชื้อจุลชีพ และสามารถแก้ไขปัญหาเบื้องต้นเกี่ยวกับวิธี พื้นฐานทางจุลชีววิทยาที่ใช้ในการวินิจฉัยจุลชีพ
  • 4) สามารถปฏิบัติเทคนิคพื้นฐานทางจุลชีววิทยาได้อย่างถูกต้องตามมาตรฐานและปลอดภัย ได้แก่ การใช้กล้องจุลทรรศน์, การย้อมสีแกรม, การเพาะแยกเชื้อ การทดสอบทางชีวเคมี, การวินิจฉัยเชื้อ, เทคนิคการทำการเจือจาง และ การใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล (Personnel Protective Equipment, PPE)
ปฏิบัติการ
ผศ. ดร.สมหญิง โลหะรังสิกุล ผศ. ดร.เธียรรัตน์ ตั้งไชยคีรี ผศ. ดร.วิชญาพร คำพรม รศ. ดร.กมลรัตน์ โพธิ์ปิ่น รศ. ดร.ธีรพล เปียฉ่ำ ผศ. ดร.รุ่งโรจน์ เชิดตระกูลเกียรติ รศ. ดร.วราวรรณ เอี่ยมพึ่งพร รศ. ดร.วิจิตร วงค์ล่ำซำ รศ. ดร.ศักดิ์ดา ใยน้อย ผศ. ดร.สิริรัตน์ ลูกอินทร์ ผศ. ดร.ชาฎิณี ทิพกรณ์ อ. ดร.ปิยดา ณ นคร ผศ. ดร.ชวลิต จตุพีรพัฒน์ อ. ดร.ธนวัฒน์ พวดรักษา
22/10/2024 08:30:00 - 22/10/2024 10:30:00 2 ชม. 0 นาที
  • 401 ศาลายา
  • 402 ศาลายา
  • Lab 6: Biochemical test for bacterial identification 2: gram negative bacilli
  • 3) คิดวิเคราะห์เกี่ยวกับการจำแนกและวินิจฉัยเชื้อจุลชีพ และสามารถแก้ไขปัญหาเบื้องต้นเกี่ยวกับวิธี พื้นฐานทางจุลชีววิทยาที่ใช้ในการวินิจฉัยจุลชีพ
  • 4) สามารถปฏิบัติเทคนิคพื้นฐานทางจุลชีววิทยาได้อย่างถูกต้องตามมาตรฐานและปลอดภัย ได้แก่ การใช้กล้องจุลทรรศน์, การย้อมสีแกรม, การเพาะแยกเชื้อ การทดสอบทางชีวเคมี, การวินิจฉัยเชื้อ, เทคนิคการทำการเจือจาง และ การใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล (Personnel Protective Equipment, PPE)
  • 8) มีวินัย ตรงต่อเวลา มีคุณธรรม และจริยธรรม
ปฏิบัติการ
ผศ. ดร.สมหญิง โลหะรังสิกุล ผศ. ดร.เธียรรัตน์ ตั้งไชยคีรี ผศ. ดร.วิชญาพร คำพรม รศ. ดร.กมลรัตน์ โพธิ์ปิ่น รศ. ดร.ธีรพล เปียฉ่ำ ผศ. ดร.รุ่งโรจน์ เชิดตระกูลเกียรติ รศ. ดร.วราวรรณ เอี่ยมพึ่งพร รศ. ดร.วิจิตร วงค์ล่ำซำ รศ. ดร.ศักดิ์ดา ใยน้อย ผศ. ดร.สิริรัตน์ ลูกอินทร์ ผศ. ดร.ชาฎิณี ทิพกรณ์ อ. ดร.ปิยดา ณ นคร ผศ. ดร.ชวลิต จตุพีรพัฒน์ อ. ดร.ธนวัฒน์ พวดรักษา
22/10/2024 10:30:00 - 22/10/2024 11:30:00 1 ชม. 0 นาที
  • 401 ศาลายา
  • 402 ศาลายา
  • Group activity “Microbial World”
  • 2) อธิบายความแตกต่างของจุลชีพ 4 ชนิด (แบคทีเรีย เชื้อรา ปรสิต และไวรัส) ทั้งในเรื่องของรูปร่าง ลักษณะ โครงสร้าง
  • 3) คิดวิเคราะห์เกี่ยวกับการจำแนกและวินิจฉัยเชื้อจุลชีพ และสามารถแก้ไขปัญหาเบื้องต้นเกี่ยวกับวิธี พื้นฐานทางจุลชีววิทยาที่ใช้ในการวินิจฉัยจุลชีพ
  • 4) สามารถปฏิบัติเทคนิคพื้นฐานทางจุลชีววิทยาได้อย่างถูกต้องตามมาตรฐานและปลอดภัย ได้แก่ การใช้กล้องจุลทรรศน์, การย้อมสีแกรม, การเพาะแยกเชื้อ การทดสอบทางชีวเคมี, การวินิจฉัยเชื้อ, เทคนิคการทำการเจือจาง และ การใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล (Personnel Protective Equipment, PPE)
  • 7) ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับวิชาจุลชีววิทยาพื้นฐานและมีการเรียนรู้ด้วยตนเอง อย่างต่อเนื่อง
  • 8) มีวินัย ตรงต่อเวลา มีคุณธรรม และจริยธรรม
ปฏิบัติการ
ผศ. ดร.สมหญิง โลหะรังสิกุล ผศ. ดร.เธียรรัตน์ ตั้งไชยคีรี ผศ. ดร.วิชญาพร คำพรม รศ. ดร.กมลรัตน์ โพธิ์ปิ่น รศ. ดร.ธีรพล เปียฉ่ำ ผศ. ดร.รุ่งโรจน์ เชิดตระกูลเกียรติ รศ. ดร.วราวรรณ เอี่ยมพึ่งพร รศ. ดร.วิจิตร วงค์ล่ำซำ รศ. ดร.ศักดิ์ดา ใยน้อย ผศ. ดร.สิริรัตน์ ลูกอินทร์ ผศ. ดร.ชาฎิณี ทิพกรณ์ อ. ดร.ปิยดา ณ นคร ผศ. ดร.ชวลิต จตุพีรพัฒน์ อ. ดร.ธนวัฒน์ พวดรักษา
22/10/2024 11:30:00 - 22/10/2024 12:30:00 1 ชม. 0 นาที
  • Lab 6: Biochemical test for bacterial identification 2: gram negative bacilli
  • 3) คิดวิเคราะห์เกี่ยวกับการจำแนกและวินิจฉัยเชื้อจุลชีพ และสามารถแก้ไขปัญหาเบื้องต้นเกี่ยวกับวิธี พื้นฐานทางจุลชีววิทยาที่ใช้ในการวินิจฉัยจุลชีพ
  • 4) สามารถปฏิบัติเทคนิคพื้นฐานทางจุลชีววิทยาได้อย่างถูกต้องตามมาตรฐานและปลอดภัย ได้แก่ การใช้กล้องจุลทรรศน์, การย้อมสีแกรม, การเพาะแยกเชื้อ การทดสอบทางชีวเคมี, การวินิจฉัยเชื้อ, เทคนิคการทำการเจือจาง และ การใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล (Personnel Protective Equipment, PPE)
ปฏิบัติการ
ผศ. ดร.สมหญิง โลหะรังสิกุล ผศ. ดร.เธียรรัตน์ ตั้งไชยคีรี ผศ. ดร.วิชญาพร คำพรม รศ. ดร.กมลรัตน์ โพธิ์ปิ่น รศ. ดร.ธีรพล เปียฉ่ำ ผศ. ดร.รุ่งโรจน์ เชิดตระกูลเกียรติ รศ. ดร.วราวรรณ เอี่ยมพึ่งพร รศ. ดร.วิจิตร วงค์ล่ำซำ รศ. ดร.ศักดิ์ดา ใยน้อย ผศ. ดร.สิริรัตน์ ลูกอินทร์ ผศ. ดร.ชาฎิณี ทิพกรณ์ อ. ดร.ปิยดา ณ นคร ผศ. ดร.ชวลิต จตุพีรพัฒน์ อ. ดร.ธนวัฒน์ พวดรักษา
29/10/2024 08:30:00 - 29/10/2024 12:30:00 4 ชม. 0 นาที
  • 301 ศาลายา
  • Group activity “Microbial World” Presentation
  • 2) อธิบายความแตกต่างของจุลชีพ 4 ชนิด (แบคทีเรีย เชื้อรา ปรสิต และไวรัส) ทั้งในเรื่องของรูปร่าง ลักษณะ โครงสร้าง
  • 3) คิดวิเคราะห์เกี่ยวกับการจำแนกและวินิจฉัยเชื้อจุลชีพ และสามารถแก้ไขปัญหาเบื้องต้นเกี่ยวกับวิธี พื้นฐานทางจุลชีววิทยาที่ใช้ในการวินิจฉัยจุลชีพ
  • 4) สามารถปฏิบัติเทคนิคพื้นฐานทางจุลชีววิทยาได้อย่างถูกต้องตามมาตรฐานและปลอดภัย ได้แก่ การใช้กล้องจุลทรรศน์, การย้อมสีแกรม, การเพาะแยกเชื้อ การทดสอบทางชีวเคมี, การวินิจฉัยเชื้อ, เทคนิคการทำการเจือจาง และ การใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล (Personnel Protective Equipment, PPE)
  • 7) ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับวิชาจุลชีววิทยาพื้นฐานและมีการเรียนรู้ด้วยตนเอง อย่างต่อเนื่อง
  • 8) มีวินัย ตรงต่อเวลา มีคุณธรรม และจริยธรรม
กิจกรรม
ผศ. ดร.สมหญิง โลหะรังสิกุล ผศ. ดร.เธียรรัตน์ ตั้งไชยคีรี ผศ. ดร.วิชญาพร คำพรม รศ. ดร.กมลรัตน์ โพธิ์ปิ่น รศ. ดร.ธีรพล เปียฉ่ำ ผศ. ดร.รุ่งโรจน์ เชิดตระกูลเกียรติ รศ. ดร.วราวรรณ เอี่ยมพึ่งพร รศ. ดร.วิจิตร วงค์ล่ำซำ รศ. ดร.ศักดิ์ดา ใยน้อย ผศ. ดร.สิริรัตน์ ลูกอินทร์ ผศ. ดร.ชาฎิณี ทิพกรณ์ อ. ดร.ปิยดา ณ นคร ผศ. ดร.ชวลิต จตุพีรพัฒน์ อ. ดร.ธนวัฒน์ พวดรักษา
06/11/2024 13:00:00 - 06/11/2024 16:00:00 3 ชม. 0 นาที
  • Lect.12 Germ theory of disease: the battle between microbe & host
  • 5) อธิบายการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันที่เกิดขึ้นต่อเชื้อจุลชีพในร่างกาย
  • 6) อธิบายคุณลักษณะของปฏิกิริยาแอนติเจน-แอนติบอดี้ และการนำไปใช้ประโยชน์
บรรยาย
รศ. ดร.พัชนี ชูทอง ผศ. ดร.สินีวัลยา วิชิต อ. ดร.นฤทัย อรศิริสกุล
12/11/2024 08:30:00 - 12/11/2024 09:30:00 1 ชม. 0 นาที
  • 301 ศาลายา
  • Lect.13 Introduction to Virology
  • 2) อธิบายความแตกต่างของจุลชีพ 4 ชนิด (แบคทีเรีย เชื้อรา ปรสิต และไวรัส) ทั้งในเรื่องของรูปร่าง ลักษณะ โครงสร้าง
  • 3) คิดวิเคราะห์เกี่ยวกับการจำแนกและวินิจฉัยเชื้อจุลชีพ และสามารถแก้ไขปัญหาเบื้องต้นเกี่ยวกับวิธี พื้นฐานทางจุลชีววิทยาที่ใช้ในการวินิจฉัยจุลชีพ
  • 4) สามารถปฏิบัติเทคนิคพื้นฐานทางจุลชีววิทยาได้อย่างถูกต้องตามมาตรฐานและปลอดภัย ได้แก่ การใช้กล้องจุลทรรศน์, การย้อมสีแกรม, การเพาะแยกเชื้อ การทดสอบทางชีวเคมี, การวินิจฉัยเชื้อ, เทคนิคการทำการเจือจาง และ การใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล (Personnel Protective Equipment, PPE)
บรรยาย
ผศ. ดร.สินีวัลยา วิชิต
12/11/2024 09:30:00 - 12/11/2024 10:30:00 1 ชม. 0 นาที
  • 301 ศาลายา
  • Lect.14 Laboratory tools for studying microbes 4: antigen-antibody based reaction
  • 3) คิดวิเคราะห์เกี่ยวกับการจำแนกและวินิจฉัยเชื้อจุลชีพ และสามารถแก้ไขปัญหาเบื้องต้นเกี่ยวกับวิธี พื้นฐานทางจุลชีววิทยาที่ใช้ในการวินิจฉัยจุลชีพ
  • 6) อธิบายคุณลักษณะของปฏิกิริยาแอนติเจน-แอนติบอดี้ และการนำไปใช้ประโยชน์
บรรยาย
รศ. ดร.ชนิยา ลี้ปิยะสกุลชัย ผศ. ดร.วิชญาพร คำพรม
12/11/2024 10:30:00 - 12/11/2024 11:30:00 1 ชม. 0 นาที
  • 301 ศาลายา
  • Lab. 7: Basic techniques in Immunology & Serology
  • 4) สามารถปฏิบัติเทคนิคพื้นฐานทางจุลชีววิทยาได้อย่างถูกต้องตามมาตรฐานและปลอดภัย ได้แก่ การใช้กล้องจุลทรรศน์, การย้อมสีแกรม, การเพาะแยกเชื้อ การทดสอบทางชีวเคมี, การวินิจฉัยเชื้อ, เทคนิคการทำการเจือจาง และ การใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล (Personnel Protective Equipment, PPE)
  • 6) อธิบายคุณลักษณะของปฏิกิริยาแอนติเจน-แอนติบอดี้ และการนำไปใช้ประโยชน์
ปฏิบัติการ
รศ. ดร.ชนิยา ลี้ปิยะสกุลชัย ผศ. ดร.วิชญาพร คำพรม
12/11/2024 11:30:00 - 12/11/2024 12:30:00 1 ชม. 0 นาที
  • Lab 7: Serial dilution
  • 4) สามารถปฏิบัติเทคนิคพื้นฐานทางจุลชีววิทยาได้อย่างถูกต้องตามมาตรฐานและปลอดภัย ได้แก่ การใช้กล้องจุลทรรศน์, การย้อมสีแกรม, การเพาะแยกเชื้อ การทดสอบทางชีวเคมี, การวินิจฉัยเชื้อ, เทคนิคการทำการเจือจาง และ การใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล (Personnel Protective Equipment, PPE)
ปฏิบัติการ
ผศ. ดร.ประสงค์ แคน้ำ รศ. ดร.พัชนี ชูทอง รศ. ดร.ชนิยา ลี้ปิยะสกุลชัย ผศ. ดร.สมหญิง โลหะรังสิกุล ผศ. ดร.สินีวัลยา วิชิต ผศ. ดร.เธียรรัตน์ ตั้งไชยคีรี ผศ. ดร.สกาวรัตน์ เลิศจุฑาพร ผศ. ดร.ดลพร ริยะป่า ผศ. ดร.วิชญาพร คำพรม อ. ดร.ธนวัฒน์ พวดรักษา
19/11/2024 08:30:00 - 19/11/2024 12:30:00 4 ชม. 0 นาที
  • 401 ศาลายา
  • 402 ศาลายา
  • Lab 7: Serial dilution
  • 4) สามารถปฏิบัติเทคนิคพื้นฐานทางจุลชีววิทยาได้อย่างถูกต้องตามมาตรฐานและปลอดภัย ได้แก่ การใช้กล้องจุลทรรศน์, การย้อมสีแกรม, การเพาะแยกเชื้อ การทดสอบทางชีวเคมี, การวินิจฉัยเชื้อ, เทคนิคการทำการเจือจาง และ การใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล (Personnel Protective Equipment, PPE)
  • 8) มีวินัย ตรงต่อเวลา มีคุณธรรม และจริยธรรม
ปฏิบัติการ
ผศ. ดร.ประสงค์ แคน้ำ รศ. ดร.พัชนี ชูทอง รศ. ดร.ชนิยา ลี้ปิยะสกุลชัย ผศ. ดร.สมหญิง โลหะรังสิกุล ผศ. ดร.สินีวัลยา วิชิต ผศ. ดร.เธียรรัตน์ ตั้งไชยคีรี ผศ. ดร.สกาวรัตน์ เลิศจุฑาพร ผศ. ดร.ดลพร ริยะป่า ผศ. ดร.วิชญาพร คำพรม อ. ดร.ธนวัฒน์ พวดรักษา
26/11/2024 09:00:00 - 26/11/2024 12:00:00 3 ชม. 0 นาที
  • 401 ศาลายา
  • 402 ศาลายา
  • 306 ศาลายา (มีแผงกั้นห้อง 306)
  • สอบปลายภาค - สอบภาคทฤษฎี 2 - สอบภาคปฏิบัติ 2 (Spot test)
สอบ
ผศ. ดร.ประสงค์ แคน้ำ รศ. ดร.พัชนี ชูทอง รศ. ดร.ชนิยา ลี้ปิยะสกุลชัย ผศ. ดร.สมหญิง โลหะรังสิกุล ผศ. ดร.สินีวัลยา วิชิต ผศ. ดร.เธียรรัตน์ ตั้งไชยคีรี ผศ. ดร.สกาวรัตน์ เลิศจุฑาพร ผศ. ดร.ดลพร ริยะป่า ผศ. ดร.วิชญาพร คำพรม อ. ดร.ธนวัฒน์ พวดรักษา
17/12/2024 08:30:00 - 17/12/2024 11:30:00 3 ชม. 0 นาที
  • 401 ศาลายา
  • 402 ศาลายา
  • ประเมินทักษะปฏิบัติการ 2 (Serial dilution)
สอบ
ผศ. ดร.สมหญิง โลหะรังสิกุล ผศ. ดร.เธียรรัตน์ ตั้งไชยคีรี ผศ. ดร.วิชญาพร คำพรม อ. ดร.ธนวัฒน์ พวดรักษา ผศ. ดร.ประสงค์ แคน้ำ รศ. ดร.พัชนี ชูทอง รศ. ดร.ชนิยา ลี้ปิยะสกุลชัย ผศ. ดร.สินีวัลยา วิชิต ผศ. ดร.สกาวรัตน์ เลิศจุฑาพร ผศ. ดร.ดลพร ริยะป่า

การเรียนการสอนนอกห้องเรียน

วันที่ เวลา หัวข้อ ประเภท รูปแบบ จำนวนชั่วโมง/คน ผู้รับผิดชอบ

หมวด 5 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

Required Materials
ลำดับ รายละเอียด
1 หนังสือการทดสอบชีวเคมีที่ใช้ในการตรวจวินิจฉัยชนิดแบคทีเรียทางการแพทย์ พ.ศ. 2556 โดย ผศ.ดร. เกศรา วัดอักษร
2 Marjorie Kelly Cowan and Heidi Smith. Microbiology: A systemic approach, 2023, 7th ed. McGraw-Hill.
3 Abul Abbas. Basic Immunology: Functions and disorders of the immune system. 2019, 6th ed. Saun-der Elsevier. Philadelphia.
4 Kindt DJ, Goldsby RA, Osborne BH. Antigen-antibody interaction: principles and applications. In Kindt DJ, Goldsby RA, Osborne BA, editors. Immunology. 6th edition, W.H. Freeman & Company. New York. 2007.
Suggested Materials
ลำดับ รายละเอียด
1 Karen C. Carroll, Michael A. Pfaller, editors. Manual of Clinical Microbiology, 13th ed. ASM Press, Washington DC, 2023.
2 Patricia M. Tille. Bailey & Scott’s Diagnostic Microbiology, 15thed. Mosby, Inc., St. Louis, Missouri. 2021.
3 Winn, W.C. Jr., Allen, S.D., Janda,W.M. et al, editors. Koneman’s Color Atlas and Textbook of Diagnos-tic Microbiology, 7th ed. Lippincott William & Wilkins. 2016.
4 John DT, Petri WA. Markell and Voge’s medical parasitology 9th ed. St Louis: Saunders Elsevier; 2006.
5 Leventhal R, Cheadle RF. Medical Parasitology. A Self-Instructional Text. 7th ed. F.A. Davis Company. Philadelphia; 2019
6 ประยงค์ ระดมยศ, อัญชลี ตั้งตรงจิตร, พลรัตน์ วิไลรัตน์, ศรชัย หลูอารีย์สุวรรณ, แทน จงศุภชัยสิทธิ์. Atlas of Medi-cal Parasitology: with 456 color illustrations. 2nd ed. ที.พี.พริ้นท์ จำกัด; 2538.
7 มยุรัตน์ เทพมงคล, จำรัส จุลละบุษปะ, ชูมณี ละม่อม, ดวงพร นะคาพันธุ์ชัย, วิวรรณ เสนะสุทธิพันธุ์. ปรสิตวิทยาทางการแพทย์. Medical Parasitology. ห้างหุ้นส่วนจำกัด เพิ่มเสริมกิจ; 2532.
Other Resources
ลำดับ รายละเอียด
1 VDO สาธิต ประกอบการเรียนใน Online course ผ่านระบบ Google Classroom Google Classroom Link: https://classroom.google.com/c/NzAwOTQ3NDAzODcz?cjc=d5ahuxw Google Classroom Code: d5ahuxw