ประมวลผลรายวิชา มม.3

หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ทนจค๒๐๔
MTMI204
ภูมิคุ้มกันวิทยาพื้นฐาน
Basic Immunology
ปี 2
3 หน่วย (บรรยาย 1, ปฏิบัติ 2)
2 / 2566
80 คน show
รศ. ดร.ชนิยา ลี้ปิยะสกุลชัย
หมวดที่ 2 เป้าหมายและคำอธิบายรายวิชา
เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีความรู้และทักษะทางภูมิคุ้มกันวิทยาที่สอดคล้องกับสมรรถนะวิชาชีพเทคนิคการแพทย์ เกณฑ์มาตรฐานความรู้ความสามารถสาขาภูมิคุ้นกันวิทยา ของสภาเทคนิคการแพทย์
ความรู้พื้นฐานทางภูมิคุ้มกันวิทยา : เซลล์ สารน้ำ และชีวโมเลกุลของระบบภูมิคุ้มกัน ปฏิกิริยาการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันผ่านเซลล์และสารน้ำในระดับโมเลกุล ของระยะเหนี่ยวนำให้เกิดการตอบสนอง และการแสดงผล กลไกควบคุมการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน ภูมิคุ้มกันที่เกิดขึ้นเมื่อมีการติดเชื้อจากจุลชีพต่าง ๆ คุณลักษณะของปฏิกิริยาระหว่างแอนติเจน-แอนติบอดี หลักการการตรวจหาปฏิกิริยาระหว่างแอนติเจน-แอนติบอดี การตรวจหาผลที่เกิดขึ้นจากการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันผ่านเซลล์ การตรวจหาแอนติเจนหรือแอนติบอดีวิธีการต่าง ๆ โดยเครื่องวิเคราะห์อัตโนมัติ แนวทางการนำไปปฏิบัติต่อ การเตรียมแอนติเจนและแอนติบอดีเพื่อใช้ในปฏิกิริยาทดสอบ ฝึกอ่านผลและแปลผลการทดสอบที่ใช้ปฏิกิริยาระหว่างแอนติเจน-แอนติบอดี
Basic knowledge of immunology : cellular, humoral and biomolecules of the immune system; molecular interactions of induction and expression phases in cell mediated and humoral immune response, regulation mechanisms of immune response; immunity in microbial infections; character-istic, principle and application of antigen-antibody reaction and detection of cell-mediated immunity, Immunoassay automation, antigen and antibody preparation, practice reading and interpreting the antigen-antibody reaction based tests
หมวดที่ 3 แผนการดำเนินการและการประเมินผลที่สอดคล้องกับผลลัพธ์การเรียนรู้
วัตถุประสงค์รายวิชา
จัดประสบการณ์การเรียนรู้เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีความรู้และทักษะขั้นพื้นฐาน ที่สอดคล้องกับสมรรถนะวิชาชีพเทคนิคการแพทย์ และเกณฑ์มาตรฐานความรู้ความสามารถสาขาภูมิคุ้มกันวิชา ดังนี้ ๑.๑ มีความรู้ทางภูมิคุ้มกันวิทยาพื้นฐาน ๑.๒ สามารถอธิบายกลไกการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อจุลชีพ สิ่งแปลกปลอม หรือวัคซีน ๑.๓ มีความรู้หลักการของปฎิกิริยาระหว่างแอนติเจนและแอนติบอดี และ การทดสอบภูมิคุ้มกันทางด้านเซลล์ ๑.๔ มีทักษะในการทำการทดสอบ การอ่านผล การแปลผลการทดสอบที่อาศัยหลักการของปฎิกิริยาระหว่างแอนติเจนและแอนติบอดี ๑.๕ มีทักษะในการคิดวิเคราะห์ เชื่อมโยงและนำเสนอความรู้ทางภูมิคุ้มกันวิทยาที่เกี่ยวข้องกับโรคหรือภาวะต่างๆของร่างกายได้อย่างถูกต้อง
ความสอดคล้องกับรายวิชาและหลักสูตร
PLO Sub PLO
PLO1 มีความรู้และทักษะปฏิบัติในวิชาชีพเทคนิคการแพทย์ได้ตามมาตรฐานและจรรยาบรรณวิชาชีพ
PLO2 ประยุกต์ความรู้ทางการบริหารจัดการห้องปฏิบัติการเทคนิคการแพทย์
PLO3 จัดการและวิเคราะห์ข้อมูลทางห้องปฏิบัติการและสุขภาพชุมชนโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
PLO4 สื่อสารข้อมูลทางวิชาชีพเทคนิคการแพทย์แก่บุคลากรทางการแพทย์ ผู้รับบริการทางการแพทย์ผู้ร่ว มงาน และประชาชนได้อย่างเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย
PLO5 ทํางานเป็นทีมกับผู้ร่วมงานรวมถึงสหวิชาชีพตามบทบาทที่เหมาะสม
PLO6 ผลิตผลงานวิชาการทางเทคนิคการแพทย์หรือวิทยาศาสตร์สุขภาพโดยปฏิบัติตามจริยธรรมการวิจัย
ผลลัพธ์การเรียนรู้ของรายวิชาและการประเมินผล (Course Learning Outcomes and Assessment)

การประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ (Formative Assessment)

ลำดับ ระยะเวลา รายละเอียด เครื่องมือ การป้อนกลับให้ผู้เรียน
1 13/08/2024 23:00:00 - 13/08/2024 23:00:00 มีการประเมินนักศึกษาจากการจัดกิจกรรมเพื่อให้นักศึกษาอภิปรายกลุ่มโดยมีอาจารย์ประจำกลุ่มเป็นผู้ประเมินนักศึกษาในประเด็นต่าง ๆ เช่น ความถูกต้องของข้อมูลที่อภิปรายในประเด็นเสวนา การคิดวิเคราะห์ การเชื่อมโยงความรู้เพื่ออภิปรายการใช้เทคโนโลยีเพื่อแสวงหาความรู้ ในช่วงระหว่างการอภิปรายกลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียนและจากการสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน Rubrics score

การประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียนรู้ (Summative Assessment)

ลำดับ ผลลัพธ์การเรียนรู้และแผนการดำเนินการ

ประกอบด้วย action verb + learning content + criteria/standard

PLOs สัดส่วนคะแนน
CLO1

Exam I Exam II

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
บรรยาย

สอบข้อเขียน 34.00%
0 34%
CLO2

Exam II

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
บรรยาย

สอบข้อเขียน 4.00%
0 4%
CLO3

Exam II

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
บรรยาย

สอบข้อเขียน 5.00%
0 5%
CLO4

Exam II

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
บรรยาย

สอบข้อเขียน 4.00%
0 4%
CLO5

Exam II

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
บรรยาย

สอบข้อเขียน 4.00%
0 4%
CLO6

Exam II Exam III

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
บรรยาย

สอบข้อเขียน 21.00%
0 21%
CLO7

Exam III

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
บรรยาย

สอบข้อเขียน 8.00%
0 8%
CLO8

ปฎิบัติการ

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
ปฏิบัติการ

None 10.00%
0 10%
CLO9

ประเมินผลงานกลุ่ม rubrics

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
กิจกรรมกลุ่ม

ประเมินจากชิ้นงาน/กิจกรรม 5%
0 5%
CLO10

ประเมินการทำงานกลุ่ม

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
กิจกรรมกลุ่ม

ประเมินจากชิ้นงาน/กิจกรรม 5.00%
0 5%
100%
การให้เกรด
สัญลักษณ์ คำอธิบาย เกณฑ์
A ≥ ๘๐
B+ ๗๕.๐-๗๙.๙
B ๗๐.๐-๗๔.๙
C+ ๖๕.๐-๖๙.๙
C ๖๐.๐-๖๔.๙
D+ ๕๖.๐-๕๙.๙
D ๕๐.๐ -๕๕.๙
F <๕๐

การอุทธรณ์ของนักศึกษา

ติดต่อขอแบบฟอร์มใบคำร้องได้ที่งานการศึกษา คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล ยื่นคำร้องเป็นลายลักษณ์อักษรต่อ หัวหน้าภาควิชาจุลชีววิทยาคลินิกและเทคโนโลยีประยุกต์ โดยสามารถยื่นผ่านช่องทางใดช่องทางหนึ่ง ดังต่อไปนี้ ๑. e-mail : rungrot.cher@mahidol.ac.th ๒. เจ้าหน้าที่ผู้ประสานงาน (ระบุชื่อ สถานที่ และโทรศัพท์) : เบอร์โทร 02 411 2258 ต่อ 2838 ทั้งนี้ นักศึกษาต้องยื่นขออุทธรณ์ก่อนเปิดภาคการศึกษาถัดไป แต่หากการประกาศผลการศึกษาเป็นไปโดยล่าช้า (หลังเปิดภาคการศึกษาถัดไป) ให้ยื่นอุทธรณ์ได้ภายใน 15 วัน นับจากวันประกาศผล

การแก้ไขผลการเรียน หรือ การสอบแก้ตัว

หากนักศึกษามีผลการตัดสินผลการเรียนรู้ในระดับเกรด D+ และ D นักศึกษาสามารถขอสอบแก้ตัวได้และต้องมีผลการสอบแก้ตัวไม่น้อยกว่า ๖๐% จึงจะได้ระดับเกรด C หากนักศึกษามีผลการตัดสินผลการเรียนรู้ในระดับเกรด F นักศึกษาต้องลงทะเบียนเรียนใหม่
หมวดที่ 4 แผนการสอน
ผู้สอน
ชื่อ สังกัด บทบาท ชั่วโมง
รศ. ดร.พัชนี ชูทอง ภาควิชาจุลชีววิทยาและเทคโนโลยีประยุกต์ ผู้สอน 0 ชม. 0 นาที
ผศ. ดร.ประสงค์ แคน้ำ ศูนย์พัฒนามาตรฐานและการประเมินผลิตภัณฑ์ ผู้สอน 0 ชม. 0 นาที
ผศ. ดร.วิชญาพร คำพรม ภาควิชาจุลชีววิทยาและเทคโนโลยีประยุกต์ ผู้ร่วมรับผิดชอบ 0 ชม. 0 นาที
ผศ. ดร.ดลพร ริยะป่า ศูนย์วิจัยพัฒนานวัตกรรมและชีวการแพทย์สารสนเทศ ผู้สอน 0 ชม. 0 นาที
ผศ. ดร.เธียรรัตน์ ตั้งไชยคีรี ศูนย์วิจัยพัฒนานวัตกรรมและชีวการแพทย์สารสนเทศ ผู้สอน 0 ชม. 0 นาที
ผศ. ดร.สกาวรัตน์ เลิศจุฑาพร ศูนย์วิจัยพัฒนานวัตกรรมและชีวการแพทย์สารสนเทศ ผู้สอน 0 ชม. 0 นาที
ผศ. ดร.สมหญิง โลหะรังสิกุล ภาควิชาจุลชีววิทยาและเทคโนโลยีประยุกต์ ผู้สอน 0 ชม. 0 นาที
อ. ดร.ธนวัฒน์ พวดรักษา ภาควิชาจุลชีววิทยาและเทคโนโลยีประยุกต์ ผู้สอน 0 ชม. 0 นาที
รศ. ดร.ชนิยา ลี้ปิยะสกุลชัย ภาควิชาจุลชีววิทยาและเทคโนโลยีประยุกต์ ผู้รับผิดชอบ 0 ชม. 0 นาที

การเรียนการสอนในห้องเรียน

วันที่ เวลา ห้อง หัวข้อ CLOs ประเภท ผู้สอน

การเรียนการสอนนอกห้องเรียน

วันที่ เวลา หัวข้อ ประเภท รูปแบบ จำนวนชั่วโมง/คน ผู้รับผิดชอบ

หมวด 5 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

Required Materials
ลำดับ รายละเอียด
1 ๑. Abbas AK, Basic Immunology 6th . Elsevier Saunders, 2019
2 ๒. Murphy K, Weaver C, Immunobiology 9th . Garland Science, 2017
3 ๓. Power point ประกอบการสอน
4 ๔. เอกสารคำสอน
5 ๕. เอกสารประกอบการสอน
6 ๖. เอกสารประกอบการฝึกปฏิบัติ
7 ๗. วีดีทัศน์ประกอบการสอน
8 ๘. บทเรียน online เรื่อง Detection of immunological reactions and applications https://mux.mahidol.ac.th/courses/course-
Suggested Materials
ลำดับ รายละเอียด
1 Immunology in the gut mucosa https://www.youtube.com/watch?v=gnZEge78_78 Immunology of the lung https://www.youtube.com/watch?v=rgphaHmAC_A
2 How does your immune system work? https://www.youtube.com/watch?v=PSRJfaAYkW4&feature=youtu.be
3 Immunology in the skin https://www.youtube.com/watch?v=_VhcZTGv0CU&t=2s
4 Innate lymphoid cells and combating worm https://www.youtube.com/watch?v=CXz6FVqPqHw&t=77s
Other Resources
ลำดับ รายละเอียด