ประมวลผลรายวิชา มม.3

หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ทนจค319
MTMI319
ไวรัสวิทยาทางการแพทย์
Clinical & Diagnostic Virology
ปี 3
1 หน่วย (บรรยาย 1, ปฏิบัติ 0)
2 / 2566
117 คน show
รศ. ดร.หทัยรัตน์ เลิศสำราญ
หมวดที่ 2 เป้าหมายและคำอธิบายรายวิชา
รายวิชานี้มุ่งหวังให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานระดับโมเลกุลและคุณสมบัติที่สำคัญของเชื้อไวรัสที่มีความสำคัญทางการแพทย์ กลไกการก่อโรคและการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันของร่างกายต่อการติดเชื้อไวรัส อธิบายหลักการวิธีการเก็บและนำส่งสิ่งส่งตรวจมายังห้องปฏิบัติการ รวมทั้งอธิบายหลักการทดสอบ เกณฑ์และวิธีการทดสอบทางห้องปฏิบัติการในปัจจุบัน และเทคโนโลยีใหม่ที่เหมาะสมเพื่อสาเหตุของโรคติดเชื้อไวรัส สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการทำงานวิชาชีพเทคนิคการแพทย์ในอนาคต
เชื้อไวรัสที่มีความสําคัญทางการแพทย์ ไวรัสก่อโรคอุบัติใหม่และอุบัติซ้ำ ความรู้พื้นฐานระดับโมเลกุลของไวรัส รูปร่างลักษณะ คุณสมบัติที่สําคัญ การจัดจําแนกเชื้อไวรัส กลไกการก่อโรค หลักเกณฑ์และวิธีการทดสอบเพื่อ การวินิจฉัยโรคติดเชื้อไวรัสทางห้องปฏิบัติการ วัคซีนและยาต้านไวรัส
Viruses of medical importance, principles and molecular knowledge of viruses, morphology, biological properties, classification, and pathogenesis, principles and criteria of laboratory diagnosis of viral diseases, emerging/re-emerging viruses, vaccines and antiviral drugs
หมวดที่ 3 แผนการดำเนินการและการประเมินผลที่สอดคล้องกับผลลัพธ์การเรียนรู้
วัตถุประสงค์รายวิชา
1. เพื่อปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนให้เป็นไปตามมาตรฐานการเรียนรู้ของ TQF และ AUN-QA มีการกำหนดมาตรฐานการเรียนรู้ของรายวิชา วิธีการจัดการเรียนการสอน การประเมินผล ตลอดจนการกำหนดตัวชี้วัดสัมฤทธิผลของการเรียนรู้ของนักศึกษา 2. เพื่อปรับปรุงเนื้อหาของการสอนในแต่ละหัวข้อให้มีกระชับและเหมาะสมกับระยะเวลา และปรับปรุงลำดับเนื้อหาให้มีความต่อเนื่อง ไม่ซ้ำซ้อน 3. เพื่อปรับปรุงเนื้อหาของการสอนให้มีความทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์และสถานการณ์ในปัจจุบัน โดยเฉพาะความรู้พื้นฐานและการตรวจวินิจฉัยโรคติดเชื้อไวรัสอุบัติใหม่ 4. เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจของนักศึกษาและการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ โดยการเพิ่มรูปแบบการเรียนการสอนแบบบอภิปรายในรูปแบบ active learning โดยใช้ตัวอย่างกรณีศึกษาเป็นต้นแบบให้มากขึ้น
ความสอดคล้องกับรายวิชาและหลักสูตร
PLO Sub PLO
PLO1 ปฏิบัติงานทางวิชาชีพได้ไม่ต่ํากว่ามาตรฐานวิชาชีพเทคนิคการแพทย์ CLO1 CLO2 CLO3
PLO2 เลือกและใช้เทคโนโลยีเพื่อการปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการ และการดูแลสุขภาพได้อย่าง เหมาะสม CLO2 CLO3 CLO4
PLO3 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการจัดการข้อมูลทางห้องปฏิบัติการและสามารถวิเคราะห์ ข้อมลสู ุขภาพได้
PLO4 ให้คําแนะนําเกี่ยวกับการตรวจ ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องกับภาวะสุขภาพ ได้อย่างเหมาะสมแก่บุคลากรทางการแพทย์ผู้ป่วย และประชาชน CLO2 CLO3 CLO4
PLO5 บริหารจัดการห้องปฏิบัติการทางเทคนิคการแพทย์ได้อย่างเหมาะสม
PLO6 ทํางานเป็นทีมกับสหวิชาชีพ ทีมสขภาพ ุ โดยเชื่อมโยงบริบทของวิชาชีพเทคนิคการแพทย์ส ู่ การดูแล และสร้างเสริมสุขภาพ
PLO7 ทําวิจัยเบื้องต้นเพื่อแก้ปัญหา พัฒนา และ/หรือสร้างสรรค์สิ่งใหม ่
PLO8 แสดงออกซึ่งคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ CLO5
PLO10 แสดงออกถึงแนวคิดการเป็นผู้ประกอบการเทคนิคการแพทย
ผลลัพธ์การเรียนรู้ของรายวิชาและการประเมินผล (Course Learning Outcomes and Assessment)

การประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ (Formative Assessment)

ลำดับ ระยะเวลา รายละเอียด เครื่องมือ การป้อนกลับให้ผู้เรียน
1 30/04/2024 16:00:00 - 30/04/2024 18:00:00 ประเมินจากการนำเสนอผลการวิเคราะห์กรณีศึกษาตามโจทย์ที่กำหนดให้แบบกลุ่ม โดยประเมินถึงความถูกต้องทางด้านวิชาการ ความคลอบคลุมของเนื้อหา วิธีการนำเสนอ การใช้สื่อเทคโนโลยีในการสืบค้นข้อมูล การทำงานเป็นทีม การใช้สื่อในการนำเสนอ และความตระหนักถึงบทบาทของวิชาชีพ การนำเสนอโจทย์กรณีศึกษาที่อาจารย์กำหนดให้ และการมีส่วนร่วมในการซักถาม แสดงความคิดเห็น หรือตอบข้อซักถาม ในระหว่างการอภิปรายจากโจทย์กรณีศึกษา คณาจารย์ร่วมกันวิเคราะห์การตอบคำถาม ร่วมอภิปรายและให้ข้อมูลแก่นักศึกษา

การประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียนรู้ (Summative Assessment)

ลำดับ ผลลัพธ์การเรียนรู้และแผนการดำเนินการ

ประกอบด้วย action verb + learning content + criteria/standard

PLOs สัดส่วนคะแนน
CLO1

PLO1

อธิบายความรู้พื้นฐานระดับโมเลกุล คุณสมบัติที่สำคัญ กลไกการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน และกลไกการก่อให้เกิดโรคของเชื้อไวรัสที่มีความสำคัญทางการแพทย์และธนาคารเลือด

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
บรรยาย

สอบข้อเขียนภาคทฤษฏี

สอบข้อเขียน 25.00%
1 25%
CLO2

PLO1 PLO2 PLO4

อธิบายหลักการทดสอบวิเคราะห์ และแปลผลทางห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยา โดยประยุกต์ใช้เทคนิคต่างๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบันและเทคโนโลยีใหม่ที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการตรวจวินิจฉัย การรักษา การป้องกัน และการควบคุมโรค

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
บรรยาย

สอบข้อเขียนภาคทฤษฎี

สอบข้อเขียน 20%
บรรยาย

สอบข้อเขียนภาคปฏิบัติ

สอบข้อเขียน 10%
กิจกรรมกลุ่ม

การนำเสนองานกิจกรรมกลุ่ม การร่วมแสดงความคิดเห็น หรือตอบข้อซักถาม ในการอภิปรายโจทย์กรณีศึกษาที่อาจารย์ผู้สอนนำมาใช้ประกอบการเรียนการสอน

ประเมินจากชิ้นงาน/กิจกรรม 7.50%
3 37.5%
CLO3

PLO1 PLO2 PLO4

สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ทำการทดสอบและแปลผลการทดสอบเพื่อการวินิจฉัยโรคติดเชื้อไวรัสได้ถูกต้อง

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
บรรยาย

สอบข้อเขียนภาคทฤษฎี

สอบข้อเขียน 10%
บรรยาย

สอบข้อเขียนภาคปฏิบัติ

สอบข้อเขียน 10%
อภิปราย

การมีส่วนร่วมในการซักถาม แสดงความคิดเห็น หรือตอบข้อซักถาม ในระหว่างการอภิปรายจากโจทย์กรณีศึกษา หรือกิจกรรมสาธิตที่อาจารย์ผู้สอนนำมาใช้ประกอบการเรียนการสอน

สังเกตการณ์ 7.50%
3 27.5%
CLO4

PLO2 PLO4

อธิบายการเกิดโรคติดเชื้ออุบัติใหม่/อุบัติซ้ำ และเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลได้อย่างเหมาะสม ตามหลักความปลอดภัยทางชีวภาพ

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
บรรยาย

สอบข้อเขียนภาคทฤษฎี

สอบข้อเขียน 5.00%
2 5%
CLO5

PLO8

มีคุณธรรม จริยธรรม และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพเทคนิคการแพทย์

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
กิจกรรมกลุ่ม

ความรับผิดชอบ การเข้าเรียน การมีส่วนร่วมในการเรียน การตอบคำถามหรืออภิปรายที่แสดงออกถึงการมีคุณธรรม จริยธรรม และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพเทคนิคการแพทย์

สังเกตการณ์ 5.00%
1 5.0%
100.0%
การให้เกรด
สัญลักษณ์ คำอธิบาย เกณฑ์
A >=80
B+ 75-79
B 70-74
C+ 65-69
C 60-64, การเข้าเรียนไม่น้อยกว่า 80%
D+ 55-59
D 50-54
F <50

การอุทธรณ์ของนักศึกษา

นักศึกษาสามารถอุทรณ์ผ่านอาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา และอาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาจะขอนัดหมายที่ปรึกษารายวิชาและอาจารย์ผู้ร่วมรับผิดชอบภายใน 7 วัน เพื่อหาข้อสรุปและแนวทางการแก้ไขอย่างรวดเร็ว

การแก้ไขผลการเรียน หรือ การสอบแก้ตัว

หากนักศึกษามีผลการเรียนต่ำกว่า C จะจัดให้มีการสอบแก้ตัว 1 ครั้ง โดยผลการเรียนหลังการสอบแก้ตัวสูงสุดคือเกรด C
หมวดที่ 4 แผนการสอน
ผู้สอน
ชื่อ สังกัด บทบาท ชั่วโมง
ผศ. ดร.สินีวัลยา วิชิต ภาควิชาจุลชีววิทยาและเทคโนโลยีประยุกต์ 8 ชม. 30 นาที
ผศ. ดร.ดลพร ริยะป่า ศูนย์วิจัยพัฒนานวัตกรรมและชีวการแพทย์สารสนเทศ 10 ชม. 0 นาที
ผศ. ดร.วิชญาพร คำพรม ภาควิชาจุลชีววิทยาและเทคโนโลยีประยุกต์ 6 ชม. 30 นาที
ผศ. ดร.กุลธิดา กิติดี ศูนย์วิจัยพัฒนานวัตกรรมและชีวการแพทย์สารสนเทศ 14 ชม. 0 นาที
รศ. ดร.หทัยรัตน์ เลิศสำราญ ศูนย์วิจัยพัฒนานวัตกรรมและชีวการแพทย์สารสนเทศ 14 ชม. 0 นาที
รศ. ดร.ประพิมพรรณ วงศ์จิตรัตน์ ศูนย์วิจัยพัฒนานวัตกรรมและชีวการแพทย์สารสนเทศ 7 ชม. 30 นาที
อ. ดร.นฤทัย อรศิริสกุล ศูนย์วิจัยพัฒนานวัตกรรมและชีวการแพทย์สารสนเทศ 13 ชม. 30 นาที
รศ. ดร.ธนาวุฒิ ตันติมงคลวัฒน์ ศูนย์วิจัยพัฒนานวัตกรรมและชีวการแพทย์สารสนเทศ 6 ชม. 30 นาที
ผศ. ดร.สกาวรัตน์ เลิศจุฑาพร ศูนย์วิจัยพัฒนานวัตกรรมและชีวการแพทย์สารสนเทศ 6 ชม. 30 นาที
ผศ. ดร. พญ.ชลธิดา ยาระณะ ศูนย์วิจัยพัฒนานวัตกรรมและชีวการแพทย์สารสนเทศ 6 ชม. 30 นาที
อ. ดร.ปิยดา ณ นคร ศูนย์วิจัยพัฒนานวัตกรรมและชีวการแพทย์สารสนเทศ 6 ชม. 30 นาที

การเรียนการสอนในห้องเรียน

วันที่ เวลา ห้อง หัวข้อ CLOs ประเภท ผู้สอน
12/03/2024 09:00:00 - 12/03/2024 10:30:00 1 ชม. 30 นาที
  • Emerging and re-emerging viral diseases & virus eradication
  • 1) อธิบายความรู้พื้นฐานระดับโมเลกุล คุณสมบัติที่สำคัญ กลไกการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน และกลไกการก่อให้เกิดโรคของเชื้อไวรัสที่มีความสำคัญทางการแพทย์และธนาคารเลือด
  • 2) อธิบายหลักการทดสอบวิเคราะห์ และแปลผลทางห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยา โดยประยุกต์ใช้เทคนิคต่างๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบันและเทคโนโลยีใหม่ที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการตรวจวินิจฉัย การรักษา การป้องกัน และการควบคุมโรค
  • 3) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ทำการทดสอบและแปลผลการทดสอบเพื่อการวินิจฉัยโรคติดเชื้อไวรัสได้ถูกต้อง
  • 4) อธิบายการเกิดโรคติดเชื้ออุบัติใหม่/อุบัติซ้ำ และเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลได้อย่างเหมาะสม ตามหลักความปลอดภัยทางชีวภาพ
บรรยาย
รศ. ดร.หทัยรัตน์ เลิศสำราญ
12/03/2024 10:30:00 - 12/03/2024 12:00:00 1 ชม. 30 นาที
  • Laboratory biosafety and spill response for emerging viral diseases
  • 4) อธิบายการเกิดโรคติดเชื้ออุบัติใหม่/อุบัติซ้ำ และเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลได้อย่างเหมาะสม ตามหลักความปลอดภัยทางชีวภาพ
  • 5) มีคุณธรรม จริยธรรม และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพเทคนิคการแพทย์
กิจกรรม
ผศ. ดร.สินีวัลยา วิชิต ผศ. ดร.สกาวรัตน์ เลิศจุฑาพร ผศ. ดร.ดลพร ริยะป่า ผศ. ดร.วิชญาพร คำพรม ผศ. ดร.กุลธิดา กิติดี รศ. ดร.หทัยรัตน์ เลิศสำราญ รศ. ดร.ประพิมพรรณ วงศ์จิตรัตน์ อ. ดร.นฤทัย อรศิริสกุล รศ. ดร.ธนาวุฒิ ตันติมงคลวัฒน์ ผศ. ดร. พญ.ชลธิดา ยาระณะ อ. ดร.ปิยดา ณ นคร
19/03/2024 09:00:00 - 19/03/2024 10:30:00 1 ชม. 30 นาที
  • Viral respiratory diseases I: Respiratory viruses
  • 1) อธิบายความรู้พื้นฐานระดับโมเลกุล คุณสมบัติที่สำคัญ กลไกการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน และกลไกการก่อให้เกิดโรคของเชื้อไวรัสที่มีความสำคัญทางการแพทย์และธนาคารเลือด
  • 2) อธิบายหลักการทดสอบวิเคราะห์ และแปลผลทางห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยา โดยประยุกต์ใช้เทคนิคต่างๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบันและเทคโนโลยีใหม่ที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการตรวจวินิจฉัย การรักษา การป้องกัน และการควบคุมโรค
  • 3) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ทำการทดสอบและแปลผลการทดสอบเพื่อการวินิจฉัยโรคติดเชื้อไวรัสได้ถูกต้อง
บรรยาย
รศ. ดร.หทัยรัตน์ เลิศสำราญ
19/03/2024 10:30:00 - 19/03/2024 12:00:00 1 ชม. 30 นาที
  • Laboratory diagnosis and interpretation of respiratory virus infection
  • 2) อธิบายหลักการทดสอบวิเคราะห์ และแปลผลทางห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยา โดยประยุกต์ใช้เทคนิคต่างๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบันและเทคโนโลยีใหม่ที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการตรวจวินิจฉัย การรักษา การป้องกัน และการควบคุมโรค
  • 3) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ทำการทดสอบและแปลผลการทดสอบเพื่อการวินิจฉัยโรคติดเชื้อไวรัสได้ถูกต้อง
  • 5) มีคุณธรรม จริยธรรม และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพเทคนิคการแพทย์
ปฏิบัติการ
ผศ. ดร.สินีวัลยา วิชิต ผศ. ดร.สกาวรัตน์ เลิศจุฑาพร ผศ. ดร.ดลพร ริยะป่า ผศ. ดร.วิชญาพร คำพรม ผศ. ดร.กุลธิดา กิติดี รศ. ดร.หทัยรัตน์ เลิศสำราญ รศ. ดร.ประพิมพรรณ วงศ์จิตรัตน์ อ. ดร.นฤทัย อรศิริสกุล รศ. ดร.ธนาวุฒิ ตันติมงคลวัฒน์ ผศ. ดร. พญ.ชลธิดา ยาระณะ อ. ดร.ปิยดา ณ นคร
02/04/2024 09:00:00 - 02/04/2024 11:00:00 2 ชม. 0 นาที
  • Viral exanthematous fever I: Vesicular rash (HSV, VZV, HFMD, smallpox)
  • 1) อธิบายความรู้พื้นฐานระดับโมเลกุล คุณสมบัติที่สำคัญ กลไกการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน และกลไกการก่อให้เกิดโรคของเชื้อไวรัสที่มีความสำคัญทางการแพทย์และธนาคารเลือด
  • 2) อธิบายหลักการทดสอบวิเคราะห์ และแปลผลทางห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยา โดยประยุกต์ใช้เทคนิคต่างๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบันและเทคโนโลยีใหม่ที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการตรวจวินิจฉัย การรักษา การป้องกัน และการควบคุมโรค
  • 3) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ทำการทดสอบและแปลผลการทดสอบเพื่อการวินิจฉัยโรคติดเชื้อไวรัสได้ถูกต้อง
บรรยาย
ผศ. ดร.สินีวัลยา วิชิต
02/04/2024 11:00:00 - 02/04/2024 12:00:00 1 ชม. 0 นาที
  • Viral exanthematous fever II: Macular rash (ZIKV, CHIKV, rubella, and measles)
  • 1) อธิบายความรู้พื้นฐานระดับโมเลกุล คุณสมบัติที่สำคัญ กลไกการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน และกลไกการก่อให้เกิดโรคของเชื้อไวรัสที่มีความสำคัญทางการแพทย์และธนาคารเลือด
  • 2) อธิบายหลักการทดสอบวิเคราะห์ และแปลผลทางห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยา โดยประยุกต์ใช้เทคนิคต่างๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบันและเทคโนโลยีใหม่ที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการตรวจวินิจฉัย การรักษา การป้องกัน และการควบคุมโรค
  • 3) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ทำการทดสอบและแปลผลการทดสอบเพื่อการวินิจฉัยโรคติดเชื้อไวรัสได้ถูกต้อง
บรรยาย
อ. ดร.นฤทัย อรศิริสกุล
09/04/2024 09:00:00 - 09/04/2024 11:00:00 2 ชม. 0 นาที
  • Examination
สอบ
ผศ. ดร.กุลธิดา กิติดี รศ. ดร.หทัยรัตน์ เลิศสำราญ อ. ดร.นฤทัย อรศิริสกุล
09/04/2024 11:00:00 - 09/04/2024 12:00:00 1 ชม. 0 นาที
  • Sexually transmitted diseases and virus infections in fetus and newborns
  • 1) อธิบายความรู้พื้นฐานระดับโมเลกุล คุณสมบัติที่สำคัญ กลไกการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน และกลไกการก่อให้เกิดโรคของเชื้อไวรัสที่มีความสำคัญทางการแพทย์และธนาคารเลือด
  • 2) อธิบายหลักการทดสอบวิเคราะห์ และแปลผลทางห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยา โดยประยุกต์ใช้เทคนิคต่างๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบันและเทคโนโลยีใหม่ที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการตรวจวินิจฉัย การรักษา การป้องกัน และการควบคุมโรค
  • 3) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ทำการทดสอบและแปลผลการทดสอบเพื่อการวินิจฉัยโรคติดเชื้อไวรัสได้ถูกต้อง
บรรยาย
ผศ. ดร.กุลธิดา กิติดี
23/04/2024 09:00:00 - 23/04/2024 10:30:00 1 ชม. 30 นาที
  • Dengue virus and other viral hemorrhagic fever
  • 1) อธิบายความรู้พื้นฐานระดับโมเลกุล คุณสมบัติที่สำคัญ กลไกการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน และกลไกการก่อให้เกิดโรคของเชื้อไวรัสที่มีความสำคัญทางการแพทย์และธนาคารเลือด
  • 2) อธิบายหลักการทดสอบวิเคราะห์ และแปลผลทางห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยา โดยประยุกต์ใช้เทคนิคต่างๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบันและเทคโนโลยีใหม่ที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการตรวจวินิจฉัย การรักษา การป้องกัน และการควบคุมโรค
  • 3) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ทำการทดสอบและแปลผลการทดสอบเพื่อการวินิจฉัยโรคติดเชื้อไวรัสได้ถูกต้อง
บรรยาย
อ. ดร.นฤทัย อรศิริสกุล
23/04/2024 10:30:00 - 23/04/2024 12:00:00 1 ชม. 30 นาที
  • Laboratory diagnosis and interpretation of dengue infection
  • 2) อธิบายหลักการทดสอบวิเคราะห์ และแปลผลทางห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยา โดยประยุกต์ใช้เทคนิคต่างๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบันและเทคโนโลยีใหม่ที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการตรวจวินิจฉัย การรักษา การป้องกัน และการควบคุมโรค
  • 3) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ทำการทดสอบและแปลผลการทดสอบเพื่อการวินิจฉัยโรคติดเชื้อไวรัสได้ถูกต้อง
  • 5) มีคุณธรรม จริยธรรม และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพเทคนิคการแพทย์
ปฏิบัติการ
ผศ. ดร.สินีวัลยา วิชิต ผศ. ดร.สกาวรัตน์ เลิศจุฑาพร ผศ. ดร.ดลพร ริยะป่า ผศ. ดร.วิชญาพร คำพรม ผศ. ดร.กุลธิดา กิติดี รศ. ดร.หทัยรัตน์ เลิศสำราญ รศ. ดร.ประพิมพรรณ วงศ์จิตรัตน์ อ. ดร.นฤทัย อรศิริสกุล รศ. ดร.ธนาวุฒิ ตันติมงคลวัฒน์ ผศ. ดร. พญ.ชลธิดา ยาระณะ อ. ดร.ปิยดา ณ นคร
30/04/2024 09:00:00 - 30/04/2024 11:00:00 2 ชม. 0 นาที
  • Case study of exanthematous fever (DenV, Zika, CHIKV)
  • 2) อธิบายหลักการทดสอบวิเคราะห์ และแปลผลทางห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยา โดยประยุกต์ใช้เทคนิคต่างๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบันและเทคโนโลยีใหม่ที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการตรวจวินิจฉัย การรักษา การป้องกัน และการควบคุมโรค
  • 3) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ทำการทดสอบและแปลผลการทดสอบเพื่อการวินิจฉัยโรคติดเชื้อไวรัสได้ถูกต้อง
  • 5) มีคุณธรรม จริยธรรม และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพเทคนิคการแพทย์
กิจกรรม
ผศ. ดร.สินีวัลยา วิชิต ผศ. ดร.สกาวรัตน์ เลิศจุฑาพร ผศ. ดร.ดลพร ริยะป่า ผศ. ดร.วิชญาพร คำพรม ผศ. ดร.กุลธิดา กิติดี รศ. ดร.หทัยรัตน์ เลิศสำราญ รศ. ดร.ประพิมพรรณ วงศ์จิตรัตน์ อ. ดร.นฤทัย อรศิริสกุล รศ. ดร.ธนาวุฒิ ตันติมงคลวัฒน์ ผศ. ดร. พญ.ชลธิดา ยาระณะ อ. ดร.ปิยดา ณ นคร
30/04/2024 11:00:00 - 30/04/2024 12:00:00 1 ชม. 0 นาที
  • Sexually transmitted diseases: Human Papillomavirus
  • 1) อธิบายความรู้พื้นฐานระดับโมเลกุล คุณสมบัติที่สำคัญ กลไกการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน และกลไกการก่อให้เกิดโรคของเชื้อไวรัสที่มีความสำคัญทางการแพทย์และธนาคารเลือด
  • 2) อธิบายหลักการทดสอบวิเคราะห์ และแปลผลทางห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยา โดยประยุกต์ใช้เทคนิคต่างๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบันและเทคโนโลยีใหม่ที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการตรวจวินิจฉัย การรักษา การป้องกัน และการควบคุมโรค
  • 3) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ทำการทดสอบและแปลผลการทดสอบเพื่อการวินิจฉัยโรคติดเชื้อไวรัสได้ถูกต้อง
บรรยาย
ผศ. ดร.กุลธิดา กิติดี
07/05/2024 09:00:00 - 07/05/2024 10:00:00 1 ชม. 0 นาที
  • Viral infections in CNS
  • 1) อธิบายความรู้พื้นฐานระดับโมเลกุล คุณสมบัติที่สำคัญ กลไกการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน และกลไกการก่อให้เกิดโรคของเชื้อไวรัสที่มีความสำคัญทางการแพทย์และธนาคารเลือด
  • 2) อธิบายหลักการทดสอบวิเคราะห์ และแปลผลทางห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยา โดยประยุกต์ใช้เทคนิคต่างๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบันและเทคโนโลยีใหม่ที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการตรวจวินิจฉัย การรักษา การป้องกัน และการควบคุมโรค
  • 3) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ทำการทดสอบและแปลผลการทดสอบเพื่อการวินิจฉัยโรคติดเชื้อไวรัสได้ถูกต้อง
บรรยาย
รศ. ดร.ประพิมพรรณ วงศ์จิตรัตน์
07/05/2024 10:00:00 - 07/05/2024 11:00:00 1 ชม. 0 นาที
  • Antiviral agents
  • 1) อธิบายความรู้พื้นฐานระดับโมเลกุล คุณสมบัติที่สำคัญ กลไกการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน และกลไกการก่อให้เกิดโรคของเชื้อไวรัสที่มีความสำคัญทางการแพทย์และธนาคารเลือด
  • 2) อธิบายหลักการทดสอบวิเคราะห์ และแปลผลทางห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยา โดยประยุกต์ใช้เทคนิคต่างๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบันและเทคโนโลยีใหม่ที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการตรวจวินิจฉัย การรักษา การป้องกัน และการควบคุมโรค
  • 3) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ทำการทดสอบและแปลผลการทดสอบเพื่อการวินิจฉัยโรคติดเชื้อไวรัสได้ถูกต้อง
บรรยาย
ผศ. ดร.กุลธิดา กิติดี
07/05/2024 11:00:00 - 07/05/2024 12:00:00 1 ชม. 0 นาที
  • Viral vaccines
  • 1) อธิบายความรู้พื้นฐานระดับโมเลกุล คุณสมบัติที่สำคัญ กลไกการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน และกลไกการก่อให้เกิดโรคของเชื้อไวรัสที่มีความสำคัญทางการแพทย์และธนาคารเลือด
  • 2) อธิบายหลักการทดสอบวิเคราะห์ และแปลผลทางห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยา โดยประยุกต์ใช้เทคนิคต่างๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบันและเทคโนโลยีใหม่ที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการตรวจวินิจฉัย การรักษา การป้องกัน และการควบคุมโรค
  • 3) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ทำการทดสอบและแปลผลการทดสอบเพื่อการวินิจฉัยโรคติดเชื้อไวรัสได้ถูกต้อง
บรรยาย
ผศ. ดร.ดลพร ริยะป่า
14/05/2024 09:00:00 - 14/05/2024 11:30:00 2 ชม. 30 นาที
  • Examination
สอบ
ผศ. ดร.ดลพร ริยะป่า ผศ. ดร.กุลธิดา กิติดี รศ. ดร.หทัยรัตน์ เลิศสำราญ อ. ดร.นฤทัย อรศิริสกุล

การเรียนการสอนนอกห้องเรียน

วันที่ เวลา หัวข้อ ประเภท รูปแบบ จำนวนชั่วโมง/คน ผู้รับผิดชอบ

หมวด 5 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

Required Materials
ลำดับ รายละเอียด
1 เอกสารประกอบการบรรยายในรูปแบบ power point และ pdf file
2 เอกสารคำสอน
3 เอกสารคำสอนประกอบปฏิบัติการสาธิต
4 วีดีทัศน์ประกอบการสอน
Suggested Materials
ลำดับ รายละเอียด
1 Flint SJ, Enquist LW, Racaniello VR, Skalka AM. Principles of virology. 2nd ed. ASM Press; 2004.
2 Wagner EK, Hewlett MJ, Bloom DC, Camerini D. Basic Virology. 3rd ed. Wiley-Blackwell; 2007.
3 Brooks GF, Carroll KC, Butel JS, Morse S. Jawetz, Melnick & Adelberg’s Medical Mi-crobiology. 26th ed. McGraw-Hill; 2007
4 Shors T. Understanding viruses. Sudbury (MA): Jones and Bartlett publishers; 2009.
5 พิไลพันธ์ พุธวัฒนะ, บรรณาธิการ. ไวรัสวิทยา. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์อักษรสมัย; 2559
6 พิไลพันธ์ พุธวัฒนะ, บรรณาธิการ. ไวรัสวิทยา. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์อักษรสมัย; 2540
7 ภาวพันธ์ ภัทรโกศล, บรรณาธิการ. หลักไวรัสวิทยาทางการแพทย์. กรุงเทพ: คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2550.
Other Resources
ลำดับ รายละเอียด
1 วิดีทัศน์เรื่อง Alere Determine™ HIV-1/2 Ag/Ab Combo US Serum/Plasma Test Procedure (website: https://www.youtube.com/watch?v=HXGvSIOBw8Y&fbclid=IwAR1V8NigUHQnZ86-nPDJKuAB6zuEPJE9Y97ImAkbhrLMc0BBD_RBu6zw6hQ)
2 วิดีทัศน์เรื่อง Quidel Sofia 2 Flu + SARS Antigen FIA Training Video (website: https://www.youtube.com/watch?v=44rxiATzkNg
3 วิดีทัศน์เรื่อง FREND COVID-19 Ag Tutorial video (website: https://www.youtube.com/watch?v=Z1r7GpG32d0)
4 วิดีทัศน์เรื่อง Lab preparedness for investigation of emerging viral diseases
5 วิดีทัศน์เรื่อง สาธิตการใช้ biological spill kit
6 วิดีทัศน์เรื่อง วิธีการเก็บตัวอย่างตรวจเพื่อการวินิจฉัย respiratory viruses