ประมวลผลรายวิชา มม.3

หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
MTCH406
MTCH406
เคมีคลินิกประยุกต์
APPLIED CLINICAL CHEMISTRY
ปี 4
2 หน่วย (บรรยาย 1, ปฏิบัติ 1)
1 /
26 คน show
ผศ. ดร.ลิขิต ปรียานนท์
หมวดที่ 2 เป้าหมายและคำอธิบายรายวิชา
เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้และเข้าใจถึงกระบวนการทางเมตาบอลิสมของร่างกายในสภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา เคมีของสภาวะการออกกำลังกาย ตรวจวัดสารชีวเคมีในระหว่างการตั้งครรภ์ ในทารก ในเด็ก และในผู้สูงอายุ เทคนิคพิเศษการวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ โฆรมาโตกราฟฟี อีเล็กโทรโฟรีสิส อีเล็กโทรเคมี อิมมูโนเคมี เคมิลูมิเนสเซนส์ ไบโอลูมิเนสเซนส์ การจับตรึงเอนไซม์ ไบโอเซ็นเซอร์ เครื่องวิเคราะห์อัตโนมัติ การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในห้องปฏิบัติการเกี่ยวกับเคมีคลินิก เทคโนโลยีขั้นพื้นฐานเกี่ยวกับ ดี เอ็น เอ การศึกษาเทคโนโลยีชนิดใหม่ทางเคมีคลินิก
กระบวนการทางเมตาบอลิสมของร่างกายในสภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา เคมีของสภาวะการออกกำลังกาย ตรวจวัดสารชีวเคมีในระหว่างการตั้งครรภ์ ในทารก ในเด็ก และในผู้สูงอายุ เทคนิคพิเศษการวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ โฆรมาโตกราฟฟี อีเล็กโทรโฟรีสิส อีเล็กโทรเคมี อิมมูโนเคมี เคมิลูมิเนสเซนส์ ไบโอลูมิเนสเซนส์ การจับตรึงเอนไซม์ ไบโอเซ็นเซอร์ เครื่องวิเคราะห์อัตโนมัติ การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในห้องปฏิบัติการเกี่ยวกับเคมีคลินิก เทคโนโลยีขั้นพื้นฐานเกี่ยวกับ ดี เอ็น เอ การศึกษาเทคโนโลยีชนิดใหม่ทางเคมีคลินิก
หมวดที่ 3 แผนการดำเนินการและการประเมินผลที่สอดคล้องกับผลลัพธ์การเรียนรู้
วัตถุประสงค์รายวิชา
เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนแล้ว นักศึกษาสามารถ 1 อธิบายหลักการและการประยุกต์ใช้ประโยชน์ทางเวชศาสตร์ชันสูตรเทคนิคพิเศษต่าง ๆ เช่น โฆรมาโตกราฟฟี อีเล็คโทรฟอเรซิส อีเล็คโทรเคมี อิมมูโนเคมี เคมิลูมิเนสเซนส์ ไบโอลูมิเนสเซนส์ การจับตรึงเอนไซม์ ไบโอเซ็นเซอร์ 2 ปฏิบัติการเทคนิค Cellulose acetate electrophoresis เพื่อตรวจวิเคราะห์โปรตีนในซีรัม, Ion Exchange Column Chromatography เพื่อตรวจวิเคราะห์ปริมาณ HbA2 และ Thin Layer Chromatography เพื่อตรวจวิเคราะห์สารสเตอรอยด์ในยาสมุนไพร 3 อธิบายหลักการและการประยุกต์ใช้ประโยชน์ทางเวชศาสตร์ชันสูตร ของ Molecular diagnostics อธิบายหลักการของ Key techniques for molecular diagnosis, PCR technology และ Nanotechnology และ การประยุกต์ใช้ประโยชน์ทางเวชศาสตร์ชันสูตร 4 อธิบายกระบวนการเกิดสารอนุมูลอิสระและระบบการต้านอนุมูลอิสระในร่างกายมนุษย์ รวมทั้งสามารถอธิบายชีววิทยาและอณูพันธุกรรมของการเกิดมะเร็ง 5 อธิบายกระบวนการทางเมตาบอลิสมของร่างกาย ในสภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา ได้แก่ เคมีของสภาวะการออกกำลังกาย ภาวะกระดูกพรุน การตรวจชันสูตรภาวะเจ็บปวดในช่องท้อง การ ตรวจวัดสารชีวเคมีในระหว่างการตั้งครรภ์ ในทารก ในเด็ก และในผู้สูงอายุ 6 อธิบายหลักการของเทคนิค Gas chromatography (GC), High performance liquid chromatography (HPLC) และ Mass spectrometry (MS) และการประยุกต์ใช้ประโยชน์ในการตรวจวิเคราะห์สารเคมีฆ่าแมลงตกค้างในผักและผลไม้
ความสอดคล้องกับรายวิชาและหลักสูตร
PLO Sub PLO
PLO1 ปฏิบัติงานทางวิชาชีพได้ไม่ต่ํากว่ามาตรฐานวิชาชีพเทคนิคการแพทย์
PLO2 เลือกและใช้เทคโนโลยีเพื่อการปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการ และการดูแลสุขภาพได้อย่าง เหมาะสม
PLO3 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการจัดการข้อมูลทางห้องปฏิบัติการและสามารถวิเคราะห์ ข้อมลสู ุขภาพได้
PLO4 ให้คําแนะนําเกี่ยวกับการตรวจ ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องกับภาวะสุขภาพ ได้อย่างเหมาะสมแก่บุคลากรทางการแพทย์ผู้ป่วย และประชาชน
PLO5 บริหารจัดการห้องปฏิบัติการทางเทคนิคการแพทย์ได้อย่างเหมาะสม
PLO6 ทํางานเป็นทีมกับสหวิชาชีพ ทีมสขภาพ ุ โดยเชื่อมโยงบริบทของวิชาชีพเทคนิคการแพทย์ส ู่ การดูแล และสร้างเสริมสุขภาพ
PLO7 ทําวิจัยเบื้องต้นเพื่อแก้ปัญหา พัฒนา และ/หรือสร้างสรรค์สิ่งใหม ่
PLO8 แสดงออกซึ่งคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ
PLO10 แสดงออกถึงแนวคิดการเป็นผู้ประกอบการเทคนิคการแพทย
ผลลัพธ์การเรียนรู้ของรายวิชาและการประเมินผล (Course Learning Outcomes and Assessment)

การประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ (Formative Assessment)

ลำดับ ระยะเวลา รายละเอียด เครื่องมือ การป้อนกลับให้ผู้เรียน

การประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียนรู้ (Summative Assessment)

ลำดับ ผลลัพธ์การเรียนรู้และแผนการดำเนินการ

ประกอบด้วย action verb + learning content + criteria/standard

PLOs สัดส่วนคะแนน
CLO1

CLO1

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
0 13%
CLO2

CLO2

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
0 14%
CLO3

CLO3

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
0 26%
CLO4

CLO4

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
0 15%
CLO5

CLO5

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
0 25%
CLO6

CLO6

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
0 7%
100%
การให้เกรด
สัญลักษณ์ คำอธิบาย เกณฑ์
A 80-100%
B+ 75-79%
B 70-74%
C+ 65-69%
C 60-64%
D+ 55-59%
D 50-54%
F <50%

การอุทธรณ์ของนักศึกษา

การแก้ไขผลการเรียน หรือ การสอบแก้ตัว

หมวดที่ 4 แผนการสอน
ผู้สอน
ชื่อ สังกัด บทบาท ชั่วโมง
รศ. ดร.สุรีรัตน์ พรธาดาวิทย์ ภาควิชาเคมีคลินิก 0 ชม. 0 นาที
รศ. ดร.อมรา อภิลักษณ์ ภาควิชาเคมีคลินิก 0 ชม. 0 นาที
ผศ. ดร.อภิลักษณ์ วรชาติชีวัน ภาควิชาเทคนิคการแพทย์ชุมชน 0 ชม. 0 นาที
ผศ. ดร.ธีระวุฒิ จันทร์มี ภาควิชาเคมีคลินิก 0 ชม. 0 นาที
ผศ. ดร.ธิติกานต์ สิทธิเวช ภาควิชาเคมีคลินิก 0 ชม. 0 นาที
ผศ. ดร.ธรรมรักษ์ สุขศรีชวลิต ภาควิชาเคมีคลินิก 0 ชม. 0 นาที
ผศ. ดร.เนตินันท์ บุญญกูล ภาควิชาเคมีคลินิก 0 ชม. 0 นาที
ผศ. ดร.ณภัทร สองทวี ภาควิชาเคมีคลินิก 0 ชม. 0 นาที
ผศ. จามิกร สุขเอนก ภาควิชาเคมีคลินิก 0 ชม. 0 นาที
อ. ดร.ธารารัตน์ ขาวเขียว ภาควิชาเคมีคลินิก 0 ชม. 0 นาที
อ. ดร.มยุรี ชนะสกุลนิยม ศูนย์พัฒนามาตรฐานและการประเมินผลิตภัณฑ์ 0 ชม. 0 นาที
อ. ดร.ยุวดี บุญญสิทธิ์ งานพัฒนาคุณภาพและการประเมินผลิตภัณฑ์ 0 ชม. 0 นาที
อ. ดร.ควีน ไทรเมือง ศูนย์วิจัยพัฒนานวัตกรรมและชีวการแพทย์สารสนเทศ 0 ชม. 0 นาที

การเรียนการสอนในห้องเรียน

วันที่ เวลา ห้อง หัวข้อ CLOs ประเภท ผู้สอน

การเรียนการสอนนอกห้องเรียน

วันที่ เวลา หัวข้อ ประเภท รูปแบบ จำนวนชั่วโมง/คน ผู้รับผิดชอบ

หมวด 5 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

Required Materials
ลำดับ รายละเอียด
Suggested Materials
ลำดับ รายละเอียด
Other Resources
ลำดับ รายละเอียด