ประมวลผลรายวิชา มม.3

หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ทนรส 283
MTRD 283
การควบคุมคุณภาพทางรังสีวินิจฉัย
Quality Control in Diagnostic Radiology
ปี 2
45 หน่วย (บรรยาย 15, ปฏิบัติ 30)
2 / 2566
0 คน show
รศ. ดร.ไขแสง ชูแสงสุนทร
หมวดที่ 2 เป้าหมายและคำอธิบายรายวิชา
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการควบคุมคุณภาพทางรังสีวินิจฉัยตามบริบทของนักรังสีเทคนิค การเลือกใช้อุปกรณ์และวิธีการที่เหมาะสมเพื่อทดสอบคุณภาพของเครื่องเอกซเรย์ระบบรับภาพแบบดิจิตอล เพื่อเป็นพื้นฐานในการปฏิบัติงานทางด้านรังสีวินิจฉัยทั่วไป
การควบคุมคุณภาพทางรังสีวินิจฉัยตามบทบาทนักรังสีเทคนิค ในเครื่องมือทางรังสีวิทยาแบบต่างๆ ได้แก่ เครื่องเอกซเรย์ และระบบการถ่ายภาพ เครื่องฟลูออโรสโคปี เครื่องอัลตร้าซาวนด์ เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ และเครื่องเอ็มอาร์ไอ ฝึกปฏิบัติการควบคุมคุณภาพเครื่องเอกซเรย์และระบบถ่ายภาพดิจิตอล ฝึกประเมินผลที่ได้จากการควบคุมคุณภาพ
Quality control in diagnostic radiology according to the role of radiological technologists in various imag-ing machines, such as, x-ray machine and imaging equipment, fluoroscopy, ultrasound machine, comput-ed tomography, and magnetic resonance imaging, practice in quality control of x-ray machine and digital imaging system, practice in assessment of quality control results
หมวดที่ 3 แผนการดำเนินการและการประเมินผลที่สอดคล้องกับผลลัพธ์การเรียนรู้
วัตถุประสงค์รายวิชา
๑. เข้าใจหลักการทดสอบคุณภาพของเครื่องมือทางด้านรังสีวินิจฉัย ๒. มีทักษะการควบคุมคุณภาพของเครื่องเอกซเรย์ระบบรับภาพแบบดิจิตอลตามบทบาทของนักรังสีเทคนิค ๓. มีทักษะการทำงานร่วมกันเป็นทีมในการฝึกปฏิบัติทำการทดลอง การนำเสนอและการทำรายงานกลุ่มใช้ ๔. มีทักษะในการนำเสนอการทำการทดลองด้วยวาจาและการเขียนได้ตามหลักวิชาการ
ความสอดคล้องกับรายวิชาและหลักสูตร
PLO Sub PLO
PLO1 ประยุกต์ใช้ความรู้ ทางวิทยาศาสตร์รังสีและ ศาสตร์อื่นๆ ทเกี่ ี่ยวข้อง ใน การคิดวิเคราะห์วางแผน เลือกใช้เครื่องมืออุปกรณ์ และให้ปรมาณร ิ ังสีกับผู้ป่วย เพื่อตรวจวินิจฉัยและรักษา โรคในด้านรังสีวินิจฉัย เวช ศาสตร์นิวเคลียร์และรังสี รักษา CLO2 CLO1
PLO2 ใช้เครื่องมือและ อุปกรณ์ทางรังสีวินิจฉัย เวช ศาสตร์นิวเคลียร์และรังสี รักษาได้ตามบทบาทและ มาตรฐานวิชาชีพของ นักรังสีเทคนิค CLO3
PLO3 จัดท่าและดูแลผู้ป่วย โดยคํานึงถึงสภาวะและ อาการของผู้ป่วย เพื่อให้ ได้รับการตรวจวินิจฉัยและ รักษาทางรังสีได้อย่าง ปลอดภัย ตามบทบาทและ มาตรฐานวิชาชีพของ นักรังสีเทคนิค
PLO4 ประพฤติตนโดยมี ความซื่อสัตย์สจรุ ิต ความ รับผิดชอบ และ จรรยาบรรณวิชาชีพรังสี เทคนิค
ผลลัพธ์การเรียนรู้ของรายวิชาและการประเมินผล (Course Learning Outcomes and Assessment)

การประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ (Formative Assessment)

ลำดับ ระยะเวลา รายละเอียด เครื่องมือ การป้อนกลับให้ผู้เรียน

การประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียนรู้ (Summative Assessment)

ลำดับ ผลลัพธ์การเรียนรู้และแผนการดำเนินการ

ประกอบด้วย action verb + learning content + criteria/standard

PLOs สัดส่วนคะแนน
CLO1

PLO1

วิเคราะห์หลักการของการถ่ายภาพทางรังสีและปัจจัยที่มีผลกับการกำหนดปริมาณรังสีได้ถูกต้องตามหลักการและเทคนิคการให้ปริมาณรังสี

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
บรรยาย

สอบข้อเขียน 20%
ปฏิบัติการ

Presentation Assessment (rubric)

None 5%
ปฏิบัติการ

Practical exam (rubric)

สอบปฏิบัติการ 5%
ศึกษาด้วยตนเอง

ประเมินจากชิ้นงาน/กิจกรรม 5.00%
1 35%
CLO2

PLO1

เลือกใช้ค่าเทคนิคการให้ปริมาณรังสีในการถ่ายภาพทางรังสี เพื่อให้ได้ภาพที่มีคุณภาพโดยคำนึงปริมาณรังสีที่ผู้ป่วยได้รับ

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
บรรยาย

สอบข้อเขียน 20%
ปฏิบัติการ

Practical exam (rubric)

สอบปฏิบัติการ 5%
ศึกษาด้วยตนเอง

ประเมินจากชิ้นงาน/กิจกรรม 5.00%
1 30%
CLO3

PLO2

ใช้เครื่องเอกซเรย์และระบบรับภาพ ในการถ่ายภาพเอกซเรย์หุ่นจำลองในสถานการณ์ที่กำหนด และเป็นไปตามหลักการเทคนิคการให้ปริมาณรังสีได้

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
ปฏิบัติการ

Practical exam (rubric)

สอบปฏิบัติการ 5.00%
1 5%
CLO4

นำเสนอการทำการทดลองด้วยวาจาและการเขียนรายงานได้ตามหลักวิชาการ

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
กิจกรรมกลุ่ม

Lab report assessment

ประเมินจากชิ้นงาน/กิจกรรม 10%
กิจกรรมกลุ่ม

Presentation Assessment (rubric)

ประเมินจากชิ้นงาน/กิจกรรม 10.00%
0 20%
CLO5

ทำงานร่วมกันเป็นทีมและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการฝึกปฏิบัติทำการทดลอง การมีส่วนร่วมในการนำเสนอและการทำรายงานกลุ่ม

กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลลัพธ์ น้ำหนัก
กิจกรรมกลุ่ม

Lab report assessment

ประเมินจากชิ้นงาน/กิจกรรม 5%
กิจกรรมกลุ่ม

Presentation Assessment (rubric)

ประเมินจากชิ้นงาน/กิจกรรม 5%
0 10%
100%
การให้เกรด
สัญลักษณ์ คำอธิบาย เกณฑ์
A คะแนนระหว่าง ๘๐-๑๐๐
B+ คะแนนระหว่าง ๗๕-๗๙
B คะแนนระหว่าง ๗๐-๗๔
C+ คะแนนระหว่าง ๖๕-๖๙
C คะแนนระหว่าง ๖๐-๖๔
D+ คะแนนระหว่าง ๕๕-๕๙
D คะแนนระหว่าง ๕๐-๕๔
F คะแนนต่ำกว่า ๕๐

การอุทธรณ์ของนักศึกษา

นักศึกษาสามารถอุทธรณ์ต่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา ทั้งในรูปแบบของการติดต่อด้วยตนเอง หรือยื่นเป็นเอกสาร เพื่อให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาดำเนินการพิจารณาข้ออุทธรณ์ดังกล่าว หากไม่สามารถแก้ไขได้โดยง่าย ผู้รับผิดชอบรายวิชา สามารถนำเรื่องเข้าหารือในที่ประชุมคณะกรรมการบริหารหลักสูตร เพื่อผ่านกระบวนการในการพิจารณาข้ออุทธรณ์เหล่านั้นตามความเหมาะสม

การแก้ไขผลการเรียน หรือ การสอบแก้ตัว

นักศึกษาต้องได้คะแนนรวมทั้งรายวิชา ไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๖๐ คือได้เกรดไม่ต่ำกว่า C โดยหากนักศึกษามีคะแนนรวมทั้งวิชาไม่ถึงร้อยละ ๖๐ จะได้รับการพิจารณาสอบแก้ตัวในหัวข้อที่ได้คะแนนน้อยกว่าร้อยละ ๖๐ โดยวิธีการสอบแก้ตัวอาจอยู่ในรูปของการสอบข้อเขียน สอบปากเปล่า หรือทำรายงาน โดยต้องได้คะแนนสอบแก้ตัวร้อยละ ๖๕ หากมีสอบแก้ตัวและผ่านเกณฑ์ที่กำหนดแล้ว จะได้รับผลเกรดใหม่เป็น C
หมวดที่ 4 แผนการสอน
ผู้สอน
ชื่อ สังกัด บทบาท ชั่วโมง
รศ. ดร.ไขแสง ชูแสงสุนทร ภาควิชารังสีเทคนิค ผู้รับผิดชอบ 0 ชม. 0 นาที
รศ. ดร.นภาพงษ์ พงษ์นภางค์ ภาควิชารังสีเทคนิค ผู้สอน 0 ชม. 0 นาที
รศ. ดร.วรนุช เอี่ยมปา ภาควิชารังสีเทคนิค ผู้สอน 0 ชม. 0 นาที

การเรียนการสอนในห้องเรียน

วันที่ เวลา ห้อง หัวข้อ CLOs ประเภท ผู้สอน

การเรียนการสอนนอกห้องเรียน

วันที่ เวลา หัวข้อ ประเภท รูปแบบ จำนวนชั่วโมง/คน ผู้รับผิดชอบ

หมวด 5 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

Required Materials
ลำดับ รายละเอียด
Suggested Materials
ลำดับ รายละเอียด
Other Resources
ลำดับ รายละเอียด